อยู่นี่แล้ว


วันอาทิตย์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Albert Einstein


“A human being is part of a whole, called by us the Universe, a part limited in time and space. He experiences himself, his thoughts and feelings, as something separated from the rest a kind of optical delusion of his consciousness. This delusion is a kind of prison for us, restricting us to our personal desires and to affection for a few persons nearest us. Our task must be to free ourselves from this prison by widening our circles of compassion to embrace all living creatures and the whole of nature in its beauty.”

 Albert Einstein

มนุษย์ เริ่มต้นจากส่วนหนึ่งของเศษเสี้ยวจักรวาล เอกภาพจิตวิญญาณของสรรพสิ่ง เพียงหนึ่งหยิบมือของเวลา และอวกาศ มนุษย์เริ่มมีตัวตนพร้อมการสำนึกรู้ ตัวตน ความรู้สึก แปลกแยกจากสิ่งอื่น หรือนั่นเป็นเพียงภาพลวงตาที่สมมุติ ทั้งหมดกุมขังจิตใจเรา จำกัดเราให้ลุ่มหลงกิเลสตัณหา เพ้อฝันกับสิ่งใกล้ตัว จนลืมภารกิจการมีชีวิต =การปล่อยวาง

ออกจากคุกเงียบในใจ เผชิญหน้ากับสัจธรรม เมตตากับสิ่งเหล่านั้น เป็นส่วนหนึ่งของจักรวาล โดยไม่ต้องรอถึงความตาย...


*แปลตามใจชอบ โดย Amelie

วันศุกร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ผู้ชายสีม่วง

ผู้ชายสีม่วง
 



'เกย์' 'กะเทย' และอีกสารพันถ้อยคำ ถูกสรรหามาเรียกขาน เหล่าผู้ชายสีม่วง ไม่ว่าคำใด ล้วนแฝงไว้ด้วยสำเนียงเย้ยหยัน อยู่หลายส่วน ความไม่เข้าใจ ในความแตกต่าง สร้างความแปลกแยกให้เกิดขึ้น ทั้งที่ไม่ว่าแวดวงใด ในเมือง หรือบนยอดดอย ล้วนมีชาวดอกไม้เหล่านี้แทรกตัวอยู่ ชาธิป สุวรรณทอง รวบรวมบางผลงานวิจัยและมุมมอง เพื่อทำความเข้าใจผู้ชายสีม่วงในหลายสังคม

อคติ ทางเพศที่ผู้คนร่วมสังคมมีต่อชนชั้นเพศที่ 3 เพียงเพราะความแตกต่างทางพฤติกรรมการแสดงออก เป็นประเด็นบางส่วนที่ได้รับการหยิบยกมานำเสนอในการเสนอบทความทางวิชาการใน การประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 4 'วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง' จัดโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ซึ่งผลการศึกษาเหล่านี้อาจทำให้ได้รับรู้บางแง่มุมในชีวิตของผู้ชายชาว ดอกไม้ในหลายบริบท

ชาวดอกไม้ในสังคมมุสลิม

บทความเรื่อง 'กะเทยมุสลิม : ความรุนแรงในเพศที่สาม' นำเสนอโดย สมฤดี สงวนแก้ว ระบุว่า สังคมคนไทยมุสลิมในจังหวัดปัตตานี มีคำที่ใช้เรียกผู้ชายที่แสดงพฤติกรรมแบบผู้หญิงว่า 'ปอแน' เป็นคำภาษามลายูที่หมายถึงคนที่แสดงพฤติกรรมทางเพศเบี่ยงเบนไปจากกรอบของ ศาสนาอิสลาม ซึ่งกำหนดว่า ไม่ว่าชายหรือหญิงที่มีพฤติกรรมผิดเพศเป็นสิ่งที่ผิดไปจากบทบัญญัติทางศาสนา และถือว่าเป็นบาป ควบคู่กับคำไทยว่า 'กะเทย' ที่มีใช้เช่นกัน แต่ไม่ว่าจะถูกเรียกว่า 'ปอแน' หรือ 'กะเทย' ก็ล้วนแฝงไว้ด้วยความหมายในแง่ลบ สร้างความรู้สึก 'เป็นคนอื่น' และนำไปสู่ความรุนแรงต่อคนกลุ่มนี้ในที่สุด

เมื่อตัวตนที่เป็นอยู่ ถูกตีค่าว่าเป็นพฤติกรรมเบี่ยงเบน การตอบรับจากคนรอบข้างจึงอาจออกมาได้ทั้งในรูปของการด่าทอ เสียดสี ทำร้ายร่างกาย จนถึงระดับสุดท้ายที่การฆาตกรรม ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และสถานที่ หากพฤติกรรมเบี่ยงเบนที่แสดงต่อคนในครอบครัวของตัวเอง คนกลุ่มนี้อาจจะได้รับคำพูดล้อเลียนหรือด่าทอ แต่หากนำพฤติกรรมแบบนี้ไปแสดงออกในที่สาธารณะ หรือสถานที่ทางศาสนา เสียงสะท้อนกลับมาอาจรุนแรงกว่านั้น อาจเป็นได้ตั้งแต่คำพูดที่แสดงออกมาด้วยความไม่พอใจ การเยาะเย้ยถากถาง การปฏิเสธไม่คบค้าสมาคม

และอาจก้าวไกลไปถึงการทำร้ายร่างกายในรูป แบบต่างๆ เช่น การขว้างปาด้วยก้อนหิน การรุมทำร้ายร่างกาย จนถึงการพยายามฆ่า จากการเก็บข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง 4 ใน 8 คนกล่าวว่าเคยมีประสบการณ์ถูกทำร้ายร่างกาย และ 3 คนระบุว่าเกือบจะถูกฆ่าด้วยมือของชายคู่นอน

ทางรอดของกลุ่มชายรัก ร่วมเพศในสังคมมุสลิมจึงอยู่ที่การพยายามลดและกดกลั้นความเป็นหญิงเอาไว้ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่กรอบประเพณีทำงานอย่างเข้มงวด เช่น ในครอบครัว หรือในสถานที่ทางศาสนา รอเวลา และโอกาสที่เหมาะสมและปลอดภัย จึงจะแสดงความเป็นหญิงในตัวออกมา

การระวังตัวจากการถูกทำร้าย จะเป็นเรื่องสำคัญที่ปอแนรุ่นพี่ถ่ายทอดให้สมาชิกใหม่ แสดงให้เห็นว่าความรุนแรงเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเกิดจากคนในครอบครัว ชุมชน หรือแม้แต่กลุ่มคนที่นิยมมีเพศสัมพันธ์กับปอแนเหล่านี้ก็ตาม เพราะพฤติกรรมของพวกเขาถูกมองว่าเป็นการละเมิดหลักศาสนา สังคมจึงไม่รับรองสิทธิใดๆ ที่ทำได้ คือ การพยายามหาวิธีปกป้องตนเองทุกคราวที่ปรากฏตัวในสังคม

บู๊ลี : ผู้ชายใจสาวแห่งขุนเขา

ความ เป็นไปของเหล่าผู้ชายหัวใจสาวชาวอาข่าในหมู่บ้านแห่งหนึ่ง ซึ่งอาจจะเรียกได้ว่าเป็นชนกลุ่มน้อยในชนกลุ่มน้อยของประเทศไทย เป็นประเด็นที่ ปนัดดา บุณยสาระนัย เลือกศึกษาและนำเสนอผ่านบทความเรื่อง 'เพศที่สามในสังคมอาข่า' กล่าวถึงกระบวนการกลายเป็นเพศที่สามของชายชาวอาข่า และการแสวงหาที่ยืนในสังคมท่ามกลางการปะทะกันของความต้องการรักษาวัฒนธรรม ดั้งเดิม และการไหล่บ่าเข้ามาของวัฒนธรรมภายนอก

โดยพื้นฐาน สังคมอาข่าเป็นสังคมที่สืบตระกูลตามบรรพบุรุษฝ่ายชาย นับถือผู้ชายว่าเป็นใหญ่ในบ้าน เป็นตัวแทนของครอบครัว เป็นสังคมวัฒนธรรมที่มีการแบ่งแยกบทบาทระหว่างชายและหญิงอย่างชัดเจน

ใน อดีตแม้จะมีบ้างบางชายที่มีลักษณะเรียบร้อยอ่อนโยนแบบหญิง แต่ก็ไม่นับว่าเป็นเรื่องแปลก แม้จะมีชายอาข่าบางคนที่มีนิสัยคล้ายหญิง ทำงานบ้าน ไม่ถือปืนหรือหน้าไม้ไปล่าสัตว์ ชอบช่วยภรรยาทำงานบ้าน มากกว่าจะออกไปสังสรรค์กับกลุ่มเพื่อนผู้ชาย อาข่าจึงไม่มีคำว่า 'กะเทย'

แต่ ด้วยความเป็นไปในปัจจุบัน คนอาข่ารุ่นหลังลงดอยไปใช้ชีวิตในเมืองกันมากขึ้น ทั้งไปเรียนหนังสือและทำงาน ทำให้ได้พบปะกับคนกลุ่มเดียวกันมากขึ้น มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเสริมสร้างความเป็นผู้หญิงในตัวมากขึ้น บางเวลาก็แต่งกายเป็นผู้หญิง รวมถึงเปลี่ยนความคิดจากการแต่งงานมีภรรยาสู่การหา 'แฟน' ที่เป็นผู้ชาย

คำ ว่า 'บู๊ลี' จึงเป็นคำใหม่ที่เกิดขึ้นและถูกนำมาใช้เรียกผู้ชายหัวใจอ่อนหวานแห่งอาข่า ปนัดดา พบว่า ทั้งบู๊ลีที่อาศัยในหมู่บ้าน และที่โยกย้ายไปทำงานต่างถิ่นต่างก็ใช้พื้นที่ในเทศกาลปีใหม่ของหมู่บ้าน เป็นที่เปิดเผยตัวตน โดยการจัดการแสดงต่างๆ ที่เปิดเผยความเป็นหญิงในตัวตนออกมา เช่น การเต้นประกอบเพลง การประกวดบู๊ลี ซึ่งนอกจากบู๊ลีในหมู่บ้านที่ลงไปศึกษายังมีบู๊ลีจากหมู่บ้านใกล้เคียงเดิน ทางมาร่วมงานด้วย

บทความของปนัดดากล่าวถึง นิดา (นามสมมติ) เป็นอีกหนึ่งคนที่ถูกสังคมมอบตำแหน่งบู๊ลี ก่อนหน้านี้ เขาเคยใช้ชีวิตเยี่ยงชายชาตรีชาวอาข่าทั่วไป เคยใช้ชีวิตเรียนและทำงานในเมืองหลายปี เคยผ่านชีวิตแต่งงานกับสาวอาข่าต่างหมู่บ้าน แต่แยกทางกันในเวลาต่อมา

หลัง จากเลิกรากับแฟนสาวชีวิตก็เริ่มเปลี่ยน ด้วยนิสัยที่เรียบร้อยราวหญิงสาว และฝีมือทำงานประดิษฐ์ต่างๆ ที่เหนือกว่าผู้หญิงหลายคน จนเป็นที่สนใจของผู้ชายแท้ๆ บางคน มีทั้งแบบแอบสืบหาเบอร์โทรศัพท์แล้วโทรมาคุย กับอีกบางคนที่เลือกการเดินเข้ามาหาตรงๆ

นิดา บอกว่า ผู้ชายในหมู่บ้านมีหลายแบบ มีทั้งพวกที่ถือตัวเป็นใหญ่แล้วเอาเปรียบผู้หญิง และมองว่า งานบ้านเป็นเรื่องของผู้หญิง ผู้ชายไม่ต้องแตะ อีกแบบคือผู้ชายที่มีนิสัยเรียบร้อยมาแต่เด็ก ซึ่งนิดาจัดตัวเองอยู่ในกลุ่มนี้

"คิดว่าตัวเองไม่ใช่กะเทย คนมองว่าเป็นกะเทย แต่สำหรับตัวเองยังคิดว่าเป็นผู้ชายทั้งแท่ง เป็นผู้ชายเรียบร้อยมากกว่า คิดว่าเป็นแบบนี้ก็ดีนะ เพราะผู้ชายกลุ่มนี้จะเป็นคนที่รับผิดชอบงานบ้านมาก ชอบทำงานของผู้หญิงแต่ก็ไม่ใช่กะเทย แต่งงานมีครอบครัวมีลูกมีเมียกันหมด ผู้หญิงคนไหนได้เป็นแฟนถือว่าโชคดี ไม่ต้องทำงานบ้านผู้ชายทำให้หมด"

ขณะ ที่มีผู้ชายอีกกลุ่มที่เปลี่ยนผ่านสู่กระบวนการกลายเป็นกะเทยเต็มตัว ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนรุ่นใหม่ที่ไปใช้ชีวิตในเมือง รัชนี (นามสมมติ) อาจนับเป็นหนึ่งในจำนวนนั้น เธอเป็นสาวประเภทสองชาวอาข่าที่จากบ้านไป และใช้พื้นที่ในเทศกาลปีใหม่ประกาศจุดยืนโดยขึ้นเวทีในชุดหญิงอาข่าเต็มตัว รัชนีจดทะเบียนแต่งงานกับสามีชาวยุโรป และได้เดินทางไปใช้ชีวิตอยู่กับสามีในต่างประเทศมาหลายปีก่อนกลับมาเยี่ยม บ้าน

"รู้สึกว่าตัวเองก็เหมือนผู้หญิงคนหนึ่ง เพียงแต่เราไม่ได้แปลงเพศ ซึ่งก็ไม่สำคัญเพราะในต่างประเทศเขาให้อิสระเรื่องนี้ ความสัมพันธ์แบบชายกับชายก็เป็นเรื่องเปิดเผยรับรู้กันทั่วไป" ปัจจุบัน รัชนีใช้ชีวิตอยู่กับสามีที่เป็นตำรวจในยุโรป เธอทำงานเป็นกุ๊กร้านอาหารไทยแห่งหนึ่ง และรู้สึกมีความสุขดีกับชีวิต

ปนัดดา ปิดท้ายบทความว่า การตอบสนองต่อบู๊ลีมีทั้งการยอมรับและการมองอย่างแปลกแยก บางคนมองว่าเป็นการทำลายวัฒนธรรม ขณะที่บางคนก็มองว่าน่าเห็นใจ เพราะนอกจากจะไม่มีพิษมีภัยกับใครแล้ว คนกลุ่มนี้มักจะมีความขยันขันแข็งและชอบช่วยเหลือคนอื่น

ชายชาวดอกไม้ในโลกวรรณกรรม

เปรม สวนสมุทร นำเสนอบทความ 'การศึกษาภาพลักษณ์ของตัวละครที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศและตัวละครแวด ล้อมในนวนิยายของชายชาวดอกไม้ในปัจจุบัน' โดยจับประเด็นที่ว่า แม้ในทางประวัติศาสตร์ วรรณคดี หรือจิตรกรรมฝาผนังจะปรากฏการดำรงอยู่ของเพศที่สามในสังคมโลกและสังคมไทยมา เนิ่นนาน แต่จนปัจจุบันคนกลุ่มนี้ก็ยังเป็นคนกลุ่มน้อยที่ยากจะหาที่ยืน

แม้ ว่าในแวดวงวรรณกรรมร่วมสมัยของไทยจะมีการหยิบยกประเด็นเรื่องราวของคนรัก ร่วมเพศมานำเสนอทั้งในรูปแบบของเรื่องสั้น นวนิยาย หรือกวีนิพนธ์ แต่ส่วนใหญ่มักจะมุ่งที่การใช้พฤติการณ์ของคนกลุ่มนี้มาเพิ่มสีสันให้กับ เรื่องราวส่วนใหญ่มากกว่าจะแสดงเนื้อหาเกี่ยวกับวิถีชีวิต ค่านิยม ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติของพวกเขา

ช่วงปี พ.ศ.2527 เริ่มมีนิตยสารเกย์ออกมา ซึ่งจุดประสงค์สำคัญ คือ การทำให้คนที่เป็นเกย์ยอมรับการเป็นเกย์และใช้ชีวิตการเป็นบุคคลรักร่วม เพศอย่างถูกต้องและถูกวิธี รวมถึงเปลี่ยนมุมมองของความสัมพันธ์แบบเกย์รักเกย์ว่าไม่ใช่เรื่องผิดแปลก แต่ประการใด

อย่างไรก็ตาม เปรม มองว่า สื่อที่นำเรื่องราวของกลุ่มรักร่วมเพศมาตีแผ่อย่างชัดเจนที่สุด คือ นวนิยาย ที่ได้นำเรื่องราวชีวิตของเพศที่สามออกสู่การรับรู้สาธารณะพร้อมๆ กับการเกิดขึ้นของนวนิยายในไทย เช่น 'ประตูที่ปิดตาย' ของกฤษณา อโศกสิน 'ทางสายที่สาม' ของ กีรติ ชนา หรือ 'ลูกรัก' ของสุวรรณี สุคนธา ซึ่งเรื่องที่ปรากฏในนวนิยายยุคแรกมักมุ่งแสดงความเห็นอกเห็นใจคนกลุ่มนี้ รวมถึงแสดงถึงความรู้สึกเก็บกดในใจและการถูกกระทำจากสังคม

จน กระทั่งนวนิยาย 'ซากดอกไม้' ของ วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์ ตีพิมพ์ออกมาในปีพ.ศ.2540 ถือว่าเป็นยุคใหม่ของนวนิยายเพศที่สามในสังคมไทย ชายรักชายในวรรณกรรมยุคใหม่นี้พลิกบทบาทจากที่ตกอยู่ในฐานะผู้ถูกสังคมกระทำ มาเป็นฝ่ายกระทำต่อสังคมบ้าง

จากการศึกษาวรรณกรรมเกย์ยุคใหม่ 5 เรื่อง ได้แก่ 'ซากดอกไม้' และ 'ด้ายสีม่วง' ของวีรวัฒน์ 'เส้นทางที่ว่างเปล่า' ของภาตา 'นกแปลกฟ้า' ของมธุริน อาร์ม สมิทธิ์ และ 'เสียงเพรียกจากซีกชีวิต' ของวิสรรชนีย์ นาคร ทำให้ได้เห็นเกย์ตัวร้ายว่ามีอยู่มากมาย ขณะที่เกย์ดีๆ ก็มีอยู่มาก เพราะปัจจุบันคนเพศที่สามมีอยู่ในทุกกลุ่มชน ทุกชนชั้น ทุกอาชีพ ซึ่งนวนิยายเหล่านี้ ทำให้คนภายนอกเรียนรู้และเข้าใจผู้ชายชาวดอกไม้มากยิ่งขึ้น

ขณะที่ พิเชฐ แสงทอง เคยนำเสนอประเด็นนี้ในบทความเรื่อง 'ร่างกาย ร่างเกย์' คอลัมน์อ่านออกเสียง นิตยสารเนชั่น สุดสัปดาห์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 572 วันที่ 19-25 พ.ค.2546 ตอนหนึ่งว่า การที่วรรณกรรมเกย์ไม่นิยมสร้างตัวละครขี้เหร่ เป็นสิ่งตอกย้ำว่าร่างกายแบบเกย์เป็นสิ่งที่วาทกรรมเกย์ผลิตขึ้นมาเพื่อตอบ สนองการบริโภคเซ็กซ์เท่านั้น ด้วยเหตุนี้จึงพบว่าในวรรณกรรมเกย์ วงจรชีวิตของเกย์จะสัมพันธ์อยู่กับกลุ่มเกย์ด้วยกันมากกว่าความสัมพันธ์กับ สังคมภายนอก ศักยภาพของเกย์ที่วรรณกรรมเหล่านี้แสดงออกคือศักยภาพทางเพศมากกว่าศักยภาพ เชิงสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง

ในอีกทางหนึ่งร่างกายที่เกย์สร้าง สรรค์ขึ้น เพื่อการบริโภคเซ็กซ์ก็ส่งผลต่อโครงเรื่องของวรรณกรรมด้วย โดยกลายเป็นโครงเรื่องของการชิงรักหักสวาท การแสวงหาความพึงพอใจในเพศรส ไม่ต่างจากนิยายพาฝันระหว่างหญิงและชายที่มีอยู่ทั่วไป

แม้ว่า เนื้อหาของวรรณกรรมเกย์ในทศวรรษที่ 2540 จะเปลี่ยนแปลงไปในเชิงพัฒนาการเมื่อเปรียบเทียบกับวรรณกรรมเกย์เมื่อ 2 ทศวรรษก่อน แต่การที่นักเขียนสร้างแบบของร่างกายเกย์ให้เป็นเพียงร่างกายที่ตอบสนองความ รักและกามารมณ์ก็ทำให้โลกของเกย์เป็นโลกที่ยังน่ารังเกียจอยู่ต่อไป 'ตัวตน' เกย์ซึ่งเปิดเผยผ่าน 'ร่างกาย' จึงเป็นตัวตนที่ไม่มีทางสร้าง 'มูลค่า' หรือ 'ความพึงพอใจ' ให้เป็นที่ประจักษ์แก่สังคมได้

เกย์ในวรรณกรรมจึงจะเป็นเกย์ที่สังคมรังเกียจต่อไปอีกนาน

ความรู้บนความไม่เข้าใจ

ผู้ จัดการโครงการชายรุ่นใหม่ใส่ใจสุขภาพ ประธานคณะกรรมการบริหารสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย สำนักงานภูมิภาคล้านนา พงศ์ธร จันทร์เลื่อน มองในฐานะคนวงในว่า แม้จะนับได้ว่าเป็นเรื่องดีที่ประเด็นเกี่ยวกับชายรักชายได้รับความสนใจจาก สังคมวิชาการ แต่หากมองภาพรวมแล้วยังเป็นการนำเสนอที่มีแต่เพียงรูปแบบขณะที่เนื้อหายัง จำกัด

"รู้สึกว่าเนื้อหาที่ได้ยังจำกัด ประเด็นของการเชื่อมโยงระหว่างผู้นำเสนอกับผู้ฟังยังเข้าไม่หลากหลาย ส่วนใหญ่จะมีแต่คนที่เรียนทางด้านมานุษยวิทยาเข้ามาฟัง แต่ถ้าเวทีตรงนี้เปิดให้ผู้ถูกวิจัยเข้ามาร่วมด้วย ยกเคสจริงๆ ไม่ใช่ผู้วิจัยมานำเสนออย่างเดียว อาจจะมีเวทีแยกออกมาเพื่อเปิดโอกาสคุยประเด็นที่ยังไม่พูดถึง"

จาก มุมของคนรักเพศเดียวกัน มองว่า แม้การศึกษาวิจัยที่เกิดขึ้นจะพยายามทำความเข้าใจคนกลุ่มนี้ แต่ขณะเดียวกัน ภาษาในการเขียนบทความทางวิชาการอาจเป็นการตีตราคนกลุ่มนี้โดยไม่ตั้งใจ ซึ่งในความเป็นจริงคนกลุ่มนี้มีภาษาเฉพาะตนเอง ผู้วิจัยต้องศึกษาพื้นฐานของคนกลุ่มนี้ก่อนจะเข้าไปศึกษา

"อย่างการ ใช้คำว่ารักร่วมเพศ ซึ่งคำนี้มีมุมมองลบหลายประเด็น อาจจะเปลี่ยนเป็น รักเพศเดียวกัน หรือชอบเพศเดียวกัน จะดูนุ่มนวลกว่า รู้สึกว่าผู้วิจัยบางคนยังไม่เข้าถึงกลุ่มผู้ถูกวิจัยมากพอ บางทียังเป็นการได้ข้อมูลทุตยภูมิเอามาเขียนอีกที ทำให้ข้อมูลดูแล้วมันขัดแย้งกันเอง หรือพอไปคุยกับผู้วิจัยถามแล้วตอบว่าไม่ได้ลงลึก นานๆ ไปที หรือได้ข้อมูลจากการฟังมาอีกต่อ"

พงศ์ธร เสนอว่า ประเด็นความรุนแรงต่อกลุ่มชายรักชายยังมีอีกมาก ภายในกลุ่มคนหนึ่งอาจมีการแสดงความรุนแรงที่หลากหลาย

"จริงๆ แล้วมันถูกทำให้แปลกแยกมานาน การวิจัยที่ออกมาทำให้เราเป็นส่วนหนึ่งของคนกลุ่มน้อยที่มีปัญหาแล้วคนเข้า ไปค้นหามันก็ยังวิจัยอย่างแปลกแยก จริงๆ แล้วกะเทยอาข่า หรือมุสลิมก็เป็นหนึ่งเดียวกับสังคม แต่กลับถูกมองอย่างแปลกแยก ไม่ได้ถูกมองในภาพรวมหลายๆ มิติ เป็นการศึกษาแค่ช่วงเวลาหนึ่ง พอมีประเด็นน่าสนใจก็เข้าไปเล่นเหมือนประเด็นของแรงงาน หรือเรื่องผู้หญิง หรือประเด็นสังคมชาติพันธุ์ที่กลายเป็นเครื่องมือหรือเหตุจูงใจของนักวิจัย โดยไม่มองทั้งหมดทั้งมวลว่าเชื่อมโยงกันอย่างไร"

เขามองว่า ไม่อยากให้เรื่องของชายรักชายกลายเป็นกระแส แต่อยากให้เป็นการจุดประกายให้เกิดการคิดต่อว่าในบางมุมของสังคมยังมี พื้นที่ยังถูกกีดกันและมีความรุนแรงอยู่มาก

"เราก็มองว่าคนยอมรับมาก ขึ้น เปิดเผยได้มากขึ้น แต่เราลืมว่ายังมีคนอีกส่วนที่ยังไม่มีโอกาสในการแสดงตัวตนที่แท้จริงออกมา งานวิจัยทำให้มองเห็นว่าต่อไปแล้วคนกลุ่มนี้ควรได้รับโอกาสจากคนอื่นอย่างไร ต่อไปด้วย ต้องคิดต่อไปว่าจะช่วยเขาอย่างไรต่อไปด้วย"

คราวต่อไปที่มองชายชาวดอกไม้ หากเป็นการมองด้วยสายตาที่เข้าใจและเป็นมิตรมากขึ้นก็คงทำให้ได้รับความขอบคุณจากเพื่อนร่วมโลกกลุ่มนี้

อ้างอิงจาก http://www.lady2boy.com/b7.html

A Geography of Human Life and My Life By Yoshinori Yasuda


A Geography of Human Life and My Life
This article is a revision of a public lecture

hosted by this Institute on 25 September 2007.
Yoshinori Yasuda


A Geography of Human Life appraised in 1971
AS an undergraduate, I majored in geography. This fact has a profound relationship with my lecture today because the founding president of Soka Gakkai, Tsunesaburo Makiguchi, was also a geographer. In 1971 I proceeded to graduate school and decided to seriously pursue my studies to become a geographer, the same year that Makiguchi’s A Geography of Human Life1 first began to be accepted by the Association of Japanese Geographers.
Makiguchi publicized his voluminous A Geography of Human Life in 1903 (the 36th year of the Meiji era), having worked for many years to complete the book while teaching and helping needy children at an elementary school. In those days, Japan was being tossed about on the incoming storm of western civilization. The traditional Japanese worldview was denied. These were times when everyone adored—even deified—western learning and technology. Under these circumstances Makiguchi wrote A Geography of Human Life, which was not imitation of western theory.
Because of the sheer size of the book, however, no one was willing to publish it. Faced with such difficulty, Makiguchi requested the assistance of Shigetaka Shiga, known at that time for his book, Nihon Fuukei-ron (The Theory of Japanese Landscape).2 Shiga read and edited Makiguchi’s book, which was finally published in 1903. However, the association of geographers in Japan rejected the book utterly. It first began to gain acceptance in 1971, precisely when I resolved to pursue my career as a geographer. I first heard the name A Geography of Human Life at the Association of Japanese Geographers.
The association’s president Ryujiro Ishida, in his speech titled Meiji-Taisyo-ki no Nihon no Chiri-gakkai no Shisou-teki Doukou (Intellectual Trends in Geography in Japan in the Meiji and Taisho Eras),3 made mention of Makiguchi’s A Geography of Human Life almost 70 years after the book was published in 1903. The man-land relationship theory is the high road to knowledge in geography In geography, Makiguchi placed greatest importance on the man-land relationship. Relations between man and land or nature are the basic foundation of geography. He wrote that this theory would stay alive even after a century.
When I read the book, I knew that it contained a true path to knowledge.I was convinced that what it advocated—the study of relations between man and nature, and man and land—was the high road to geographic understanding. In the 1970’s, Japan was in the midst of an economic boom. It was easy to find employment. Economy was growing rapidly and people labored under the illusion that it would continue to grow as if there were boundless resources. In such an era, geography was mainly used to determine where to construct a factory, a supermarket, or a store, or todecide which location would be most profitable.
At that time, even if someone cried out that there was a limit to the earth’s resources, a limit to human development, that no matter how much people tried, it was inevitable that we would need to survive on the limited resources of this earth, or asserted that we could not survive whilst denying the relationship between man and nature, such a person was criticized by people who said that his idea is an obsolete environmental determinism.
An illustration that reflects trends in geography in those days is theJinsei-chirigaku Gairon (Overview of A Geography of Human Life)4 by Professor Hisaya Kunimatsu of Senshu University, published in 1978. Kunimatsu was one of those who appreciated Makiguchi’s book, but even he seems to have been restrained by the major trend at that time. This can be inferred from his implication that according to Makiguchi the study of man-nature relation is the key to geographic understanding, however, he did not agree on this point. Kunimatsu believed that the location to construct a factory or where to situate the center of a supermarket is the high road in geography. On the contrary, I was convinced that the man-nature relationship is geography’s high road.
When one feels failed by destiny After that, I became a teaching assistant at Hiroshima University. By that time, the relationship between man and nature—the man-land relationship theory—came to be considered even more obsolete. For this reason, I was forced to remain as a teaching assistant for about 15 years in the geography class in the Faculty of Integrated Arts and Sciences, Hiroshima University. If you remain a teaching assistant even past the age of 40, everybody starts to pity you. Feeling sorry for me, my professor told me, “Mr. Yasuda, if you continue to pursue your study on such an obsolete theory of the man-land and man-nature relationship, you’ll never be promoted to associate professor. Isn’t it about time that you started studying where to construct a factory, where to situate the center of a supermarket, and how to build a commercial zone around the store?
Research on man-land relation takes you nowhere.”Just as the professor told me, I was not at all successful as a geographer.I was prepared to remain a teaching assistant all my life. But at this point, I had come to the realization that I would not be able to make a living in geography so I decided to initiate a new field of discipline known as environmental archeology. In 1987, I published my paper, Kankyou-ron no Aratanaru Chihei (A New Horizon in Environmental Studies)5 in the magazine, “Chiri (Geography).”
At that time, a professor at the Tokyo Metropolitan University took my paper to his class, telling the students, “Do not read such a paper!” When I heard this, I was happy in a way. In those days, his reaction epitomized the way in which delving into the relationship between man and nature was considered dangerous to the science of geography. In my last year as a teaching assistant, our dean was murdered. Among suspects A, B, and C, I was designated suspect C (laughter). I truly thought my life might be over. I think everyone suspected me as the murderer. Because the murdered body was found covered with sand.
At that time, I was the only one who had sand for research in Hiroshima University (laughter). I was researching the relationship between man and nature, using fossils of pollen preserved in sand. Pollens are covered in a chemically very strong membrane and remain intact in sand for tens of thousands of years. The shape and size of pollen differs according to the plant. For this reason, when pollen fossils are extracted from a given soil and observed under a microscope, the number of types and amount of each type can be determined. This is how we are able to estimate the past condition of a forest or the climatic changes in a given region. We can determine when humankind started agriculture and how they destroyed forests. Consequently, I was collecting sand and soil from various parts of the world.
About forty days later, the criminal was arrested. He happened to be acolleague of mine who was a teaching assistant in a physics class. However, until he was arrested a detective visited me at my laboratory every day at 10 AM and I was unable to go anywhere for 40 days. Since I had nothing else to do, I decided to write a book, titled Sekai-shi no naka no Jomon Bunka (Jomon Culture of Japan in the World History).6 Among the people to whom I distributed this book was Director-General Takeshi Umehara of the International Research Center for Japanese Studies in Kyoto. He kindly read my book and commented that here someone was doing something interesting.
In December 1987, Director-General Umehara gave me a phone call. The Research Center had just been established and this phone led me to begin work at the Center in April 1988 at the age of 42. From that time, I was able to conduct in such as the project, “Pursuit of the Yangtze River Civilization in China.”In retrospect, my days at Hiroshima University can be compared to animprisonment. When I thought I was for all intents and purposes in prison for 15 years, I remembered Makiguchi’s experience with relief. What turned Makiguchi into the perpetual leader of Soka Gakkai? I believe it was his imprisonment. How did Josei Toda become the second president? Isn’t that because he was also imprisoned? A person needs to experience imprisonment to become a leader (laughter). I am glad that I stayed in prison for 15 years (laughter).
Global environmental issues opened the way in my life I moved to Kyoto. At the latter half of the1980’s, the Antarctic ozone hole was discovered and the earth’s environmental issues became the focus of attention. People who during the period of rapid economic growth were only concerned with where to develop factories, who thought the earth’s resources were inexhaustible, started to face the stark reality of rapidly shrinking tropical rain forests, increasing global warming, and diminishing marine resources.
Finally, for the first time, people started to show an interest in Makiguchi’s theory of the relationship between man and land. People started to realize for the first time that there are limits to human activities; that people are the children of nature and cannot survive by breaking the limits of earth’s resources, and that humanity can only survive by maintaining a profound relationship with nature.
Until then, even when I said this like, “Climatic changes will lead to the disintegration of civilization” or “Deforestation means destruction of civilization,” no one heeded such warnings. They all said that it can’t be true because people have wisdom as well as technology. However, these people were shocked when the cold summer hit the Tohoku (North-east) region which is the granary of Japan and damaged the crops in 1994, forcing everybody to eat the horrible-tasting imported rice. People faced the harsh reality that, even if we are fully outfitted with state-of-art technology, a minor decrease in the temperature brings a major crisis in our daily lives. And today, with increasing global warming, contemporary civilization is faced with a crisis of survival in the years 2050 to 2070.7 When earth’s environmental issues became the focus of attention, people also became interested in my area of research.Geography of the Law of life Why did Makiguchi direct his attention toward the importance of the “law of life” expounded in the Lotus Sutra? How did he arrive at the conclusion that this “law of life” philosophy will bring salvation to humankind?
In my opinion, because Makiguchi was studying the relationship between man and nature, he came to appreciate the preciousness of life and the importance of the laws of life. As one studies the relationship between man and nature, one cannot neglect life. We are interrelated with other forms of life. What does it mean to be related to nature? The answer is that we are surrounded by, exchanging with, other forms of life. What does it mean for humans to live? It is none other than promoting  exchanges among different life forms, or rather a fusion of different life forms.
For one life to come into being, the father’s life and mother’s life unite and fuse to create a baby. In order to survive, human beings need to eat other forms of life. The human habitat, namely a house, is made of wood, another form of life. The soil on which we live is a habitat for countless bacteria. The world of bacteria is yet unknown to man but we are certain that there is an enormous number of life forms buried in the earth’s soil and in our body. Supported by those lives, we are able tomake a living.
When we consider the term “relationship,” it may be said that the prime point in a relationship can be found in the interchange between lives. Now, as I speak I am conversing with your life. Wouldn’t it be strange if I were talking in an empty hall? I am talking because you are here; you laugh at my jokes and may be convinced of what I have said. Your laughter would encourage me to talk even more. This is an exchange between lives. Be it the relationship between land and humanity, nature and humanity, society and humanity, or among human beings, they all boil down to the relationship between life forms. A relationship implies the circle of life, life’s chain reaction. The importance of relationships among mountains,rivers, and the seas
Recently, attention has finally focused on Uotsuki-rin (fish breeding forests). Fishermen know from experience that where there are more forests there are more fish. Mr. Shigeatsu Hatakeyama, a fisherman from Kesen-numa in Miyagi Prefecture, planted trees and produced an “Oyster Forest.” In this way, he proved that the nutrients of the forest flow into the ocean, providing nutrition for oysters.8 Recently, more people have finally realized the importance of the cyclical relationship among forests, rivers, and the seas. It may be noted that in A Geography of Human Life, the importance of the relationship between mountains, rivers, and the seas is clearly pointed out. Makiguchi states that where there is thick forest, more fish gather in nearby seas, whereas there are too few fish in seas near barren mountainsides. He goes on to point out that thick forests close to the seaside, lakes, or swamps are known as Uotsuki-rin (fish breeding forests) or Uoyose-rin(forests that attract fish).
Likewise, he pointed out that nutrients in the forest nourish the fish. As we face the environmental issues of today, we now realize deforestation also accompanies a loss of marine resources, but Makiguchi advocated the importance of this synergistic cycle of forests, rivers, and the seas more than a century ago. Differences in spatial understanding between the East and the West Starting more than a century ago, Makiguchi argued against Japanese geographers’ “spatial theory.” He refuted it, saying that the European theory does not apply to Japan. There is a difference in the understanding of space between the East and the West. For example, in Europe there is the von Thünen model. In this model, the city forms a center, surrounded by a horticultural/dairy farming area. Outside this is a cereal agricultural ring, and further outside is a more rustic agricultural area, while in the outer, most distant area is pasture for livestock farming.
This is how European land is utilized. This concentric circular arrangement centered on major human activities in cities and towns is the typical European understanding of space. Walter Christaller further developed this theory, and Japanese geographers were fascinated by his thoughts. Geographers in Japan totally believed this European spatial recognition to be the universally correct awareness. Based on this theory, many scholars wrote papers applying the “central place theory” to Japan. When we look at farming villages either in France or Germany, we see towns in the center surrounded by cultivated land and then pastureland.
It is truly concentric. Because Europe was covered with thick ice during the last Glacial period, mountains were carved and a large plateau was formed, which virtually covers the continent. This was where towns were developed. Initially, gardeners and dairy farmers resided in the peripheral area, providing milk and vegetables to the town-dwellers. Later, land was cultivated further out to grow wheat and other crops. Finally, on the outskirts, livestock farming started in pastureland. This was a matter of course, thus the concentric distribution of land.
On the contrary, Japan is a different case. We grow rice. Water is a prerequisite for growing rice. For this reason, water is the key or center of our way of life. In the case of Europe, land is utilized using rainwater. A river current does not largely affect people. However, in the Japanese rice cultivating/fishing society, the river basin is the basic foundation of daily living. For any rice cultivating/fishing people in the world, the river basin is an important element in spatial understanding. Here is a feng shui diagram that depicts an ideal living space for rice cultivating/fishing people. A protected rich basin is surrounded by mountains in the north, east, and west. In the north of the basin is a spring known as a mindo that provides water. This water is canalled to the water paddies, running toward the south. Such a location is ideal for growing rice. It’s easy to understand this when you take a look at the Kyoto basin. Higashi-yama, Kita-yama, and Nishi-yama (east, north, and west mountains) protect the Shinsen-en Temple in the center, where there is a spring. The spring water flows south, forming the Kamogawa and Yodogawa rivers, and then on down into Osaka. Consequently, this location enables rice cultivating/fishing people to lead a peaceful life. This is fundamentally different from the European wheat cultivating/irrigation farming people who live on an extensive pastureland with a concentric land distribution in which a city or town assumes the center. I would like to repeat that water is not so important in European style land use. On the other hand, in Japanese land use, water is the key.
For people in a rice-oriented society with a specific spatial understanding, no matter how we try, applying the European model would achieve no worthy result. It was more than a century ago that Makiguchi amazingly pointed out that there is no way that the model is applicable to Japan. In those days, those of authority—namely the professors at Tokyo University—were people who merely translated western writings. The European model was not their idea, but this was a time when simply literally translating the studies of European scholars was considered a discipline in itself. It was during these days that Makiguchi commented that this is not right, that the Japanese have a unique awareness of space and history. He advocated that this was the type of geographic research that should be conducted. His perspicacity and powers of observation are certainly fascinating.
Local matters are directly related to global matters Another point Makiguchi noted was the local community. He stated that if one understands the local community, one can understand the world. This is a philosophy of great foresight. Although there are yet many who still believe that globalization brings happiness to humanity, as we enter the 21st century, more people have finally have come to realize the importance of local communities. The current expressions “think globally, act locally,” or the coinage “glocal” (global+local) reflect Makiguchi’s great insight in saying a century ago that if one understands the local community, he can understand the world.
In the midst of promoting a reformation along the principles of the American market fundamentalism in Japan, local communities are becoming impoverished. For this reason, the question of how to revitalize these local communities is an important political issue. When the Japanese people face this vital political issue of reviving local communities, the meaning of Makiguchi’s words—that if one understands the local community, one can understand the world—become all the more important. Another point is Makiguchi’s belief in geography as the ultimate theory of civilization. I am amazed at this statement, which was made one hundred years ago.
Today, the term “civilization” is often used in various ways, such as the “clash of civilizations.” In my opinion, the philosophy of Soka Gakkai International (SGI) president Daisaku Ikeda, in his dialogue with the late Dr. Arnold Toynbee, greatly contributed to the promotion and development of the theory of civilization in the world. Why then did he focus on civilization? Surely, it was not only because of his dialogue with Toynbee, but of Makiguchi’s book A Geography of Human Life? In the book, we find clues to, for example, second president Josei Toda’s “law of life” and Daisaku Ikeda’s “theory of civilization.”
Putting ourselves in the shoes of the weak Makiguchi founded Soka Gakkai. Like Makiguchi, my father was also the principal of an elementary school, and during his time, Japan introduced antidiscrimination education. I was born in Mie Prefecture, and close to where I lived there was a community that was discriminated against. In the elementary school my father was assigned to at the age of 39, there were pupils from ordinary families and from the community that was discriminated against. Dedicating his life to teaching their children, he would go to school at about 7 AM and always came home around midnight. After school is over, my father spent his time teaching the parents of the community how to read and write, encouraging them to send their children to school and consulting with them about family hygiene and family problems. As a result of working too hard, he passed away at the young age of 49. When he saw me off at the station for the last time before he died, he said to me, “Yoshinori, when you put yourself in the shoes of the weak, only then will you be able to see whether an organization or a country is functioning properly. You should always try to take the side of the weak when you think about anything.” This was thus my father’s will. Consequently, when I decided to become a geographer, I contemplated who or what was in the weakest situation in this world. I realized that it was nature that couldn’t speak for itself. I thought that all living organisms in the tropical rain forests and the oceans as well as the minority peoples that live in co-existence with these organisms are in the weakest position on this earth. I decided to become a geographer in order to save these weakest living beings, thus have been tackling environmentalissues so far.
It was the same with Makiguchi. He made box lunches himself for those children who could not afford to bring one to school, and he educated them. This spirit of affection for the weak is now finally recognized and is greatly appreciated as the earth’s environmental issues start to surface.
During my days as a student, Soka Gakkai was rebuked as an outrageous new religious organization. On the contrary, you, the Soka Gakkai leaders who are here today for this lecture all joined this organizationwith the conviction that you are saving humanity by practicing the law of life, the law that protects life, which was initiated by Makiguchi and passed on to Toda and then to Ikeda. That conviction has now finally been appreciated as earth’s environment worsens, as living beings on this planet reach a crisis-point. If this situation continues, the existence of humanity is at stake. In order to survive on this earth, humanity cannot exist by itself. Humanity and cattle alone also cannot survive. The validity of choosing “life-long dedication to the law of life” was only proved when people realized that humanity cannot enjoy health and happiness unless all living organisms on this planet live a life of vitality. The Sun and the Ocean are the foundation of the Law of Life I was introduced to the Lotus Sutra by the teachings of Saicho(767–822) who was a Buddhist monk, founded the Tendai school in Japan. I always believed that the key to the future of humanity can be found in Saicho’s teaching that mountains, rivers, plants, and land can all attain Buddhahood.
It has been said that Nichiren (1222–1282) chanted “Nam-myohorenge-kyo” to the sun as it rose beyond the ocean. The sun is preciselythe source of life. It is the symbol of rice cultivating and fishing peoples,and people who eat rice and fish all worshipped the sun. The sun rises inthe east and sets in the west. The following day, the sun is reborn and rises anew, perpetually regenerating and repeating the same cycle. All living beings—life—in this universe are perpetually reborn and repeat the cycle over and over again just as the sun rises in the east and sets in the west. This is the primary point of the law of life. In other words, the foundation of the law of life is the sun. It was not only the rice cultivating and fishing people who worshipped the sun. The sun was worshipped in the Egyptian, Mayan, and Andean civilizations. It may be said that in ancient times, people intuitively knew that the wellspring of life could be found in the sun. Moreover, Nichiren also noted the ocean. He was unparalleled in this sense. The wellspring of life is the ocean—the waters. Life on earth started in the ocean. In other words, the ocean—the waters—constitutes the origin of life. Thus, the foundation of the law of life in the 21st century is found in both the sun and the ocean (water).
Saicho noted the forest. Kukai (774–835) also noted the forest and the ocean. Saicho renounced secular life and became a monk to lead an ascetic life in the forests of Mt. Hiei. Kukai became a monk and led an ascetic life in the forests of the Kii peninsula and Yoshino mountain,and by the ocean in Shikoku. Furthermore, the goal of doctrines he believed in is the realization that one's nature is identical with Mahaavairocana Buddha (Great Sun Buddha). Nichiren also underlined the sun and the ocean. You are all very fortunate that you have been able to encounter the philosophy that leads the world in the 21st century. I do not know why, but what is important, in my view, is the fact that you decided to embrace this faith. Who, then, made you feel that way? When I think of this question, I am reminded of “something great” in the words of Professor Kazuo Murakami.9
We Japanese can have faith in the existence of an invisible god or Buddha. You are no exception. However, there are some people in this world who deny the existence of a god or Buddha. If we are to ask who—either those who believe in the existence of a god or Buddha, or those who don’t—can play a major role in resolving our earth’s environmental issues in the 21st century, I believe that the answer is the former, those who believe in something great. Transformation from the Law of Mammonism to the Law of Life
At present, if we are to ask which country—the United States or the People’s Republic of China—is to play a major role in resolving the world’s environmental issues, we inevitably must admit that it is the United States. This is because 80% of the US population is Christian. Although there are various problems with Christianity, if priests of mega churches preach that it is god’s will to protect nature and all living beings on this earth, people’s awareness of the environment will change. On the contrary, why do those who deny the existence of a god or a Buddha crave money? Isn’t it because they feel insecure? They are unable to believe in anything not tangible. They can only believe in money. Human beings cannot survive without faith, something to believe in. How, then, can we change those who believe in the law of mammon to believe in the law of life? What can we do to awaken them to the importance of the law of life?
If humanity continues to be controlled by its desires, destroying nature in accordance with the law of mammon while at the same time destroying our environment, mankind will be destroyed some time between 2050 and 2070. If not, contemporary civilization will be ruined at the very least. In order to avert such a tragedy, now is the time for humanity to stand up to construct a “Civilization of Life” grounded in the foundation not of the law of mammon, but that of life. I am convinced that this totally transcends the framework of a single religious organization and should be considered as a challenge for human history and that of the history of our civilization. I say this because if this is not done, the survival of humanity is at stake.
Toward a century based on a Civilization of Life Global warming is worsening at a critically fast pace. It is said that if the global annual mean temperature rises by 2 degrees or more, our coral reefs will become extinct. Coral reefs absorb a substantial amount of CO2 from the atmosphere. Without them, the rate of absorption would be greatly decreased and the temperature would rise rapidly. At the same time, the biodiversity would be reduced. If global mean temperature rises by 3 degrees, it is predicted that all of the ice in Greenland would melt.10 If it rises by 5 degrees, the current scenario tells us that our civilization will be ruined. According to the IPCC (Intergovernmental Panel on Climate Change), if the current situation persists, it is expected that by the year 2100 global annual mean temperature will rise by up to 7.4 degrees.
Since the birth of our species, Homo sapiens, in Africa 200,000 years ago, we lived through an ice age that continued for 170,000 years. In other words, the body of Homo sapiens is physiologically adaptable to the cold climate of an ice age. For this reason, we will be able to survive if another ice age is to come. Even during the last ice age, humanity survived, living together with the mammoths. It is all right for human being to be exposed to a cold climate.
Today, the level of CO2 on the earth is over 381.2ppm. This level has never occurred in the last 400,000 years. The highest CO2 level in the last 400,000 years was 300ppm. The current level surpasses the past high point by 80ppm. If the situation persists, by the year 2100, the level is predicted to have risen as high as 1100ppm.11 Human being has experienced an annual mean temperature that is 2 degrees higher than usual. During the Jomon Kaishin era, 7,000 years ago, the sea level rose and earth’s annual mean temperature was 2 degrees higher than today, but Homo sapiens has never experienced a temperature 3.5 degrees higher. When it comes to 5 degrees higher, humankind has not experienced such a temperature since its birth 6 millions years ago. Human being has survived colds even as low as 7 or 10 degrees below today’s annual mean temperature. On the other hand, we have never been placed in an environment or survived a mean temperature 3.5 degrees higher. Dinosaurs would be a different question. They are organisms that can adapt to the earth’s warming. The Cretaceous age of the Mesozoic era was a time of global warming. During that time, dinosaurs were able to adapt physiologically and flourished in large numbers. So why did dinosaurs become extinct? It was caused by meteorites that fell on the Yucatan Peninsula and in the Gulf of Mexico. These meteorites emitted smoke that covered the entire earth, which in turn caused the sudden onset of an ice age. Dinosaurs that had adapted to global warming could not cope with the sudden cold climate of an ice age and thus became extinct.
The situation of humanity or Homo sapiens is quite the contrary. We survived by adapting to cold climates, and today we are faced with a suddenly warming environment. The possibility of human being facing the crisis of extinction may not simply be an imaginary scenario. In order to avoid triggering such a critical situation, we should shape a world where all living beings can live in happiness. We should envelop his planet with the law of life. If we are not able to blanket the earth with a network of the law of life and shape a new era based on a Civilization of Life12, human being will not be able to survive.
I must admit that you are to play a major role. Soka Gakkai is called upon to show the way to protect our earth, to protect the life of all organisms. I believe that this is the Buddha’s call, the Buddha’s order. It is not that Soka Gakkai compromised with the spirit of the times; the spirit of our era approached the spirit of Soka Gakkai. It is for this very reason that Soka Gakkai, upholding the law of life, has a major role to play in resolving the environmental issue of the 21st century.
For further information on my lecture today, please refer to the recently published Isshinkyo no Yami (The Darkness of Monotheism)12 and Seimei Bunmei no Seiki E (Toward the Century of Civilization of Life),13 in which I spell out the details. Thank you very much for your attention.


References and Notes
1 Makiguchi, T. A Geography of Human Life. Bunkaido, 1903.
—A Geography of Human Life, 8th Edition. (Enlarged and revised edition), 1903.
2 Shiga, S. Nihon Fuukei-ron (The Theory of Japanese Landscape), 1894. RepubA
GEOGRAPHY OF HUMAN LIFE AND MY LIFE 59
lished, Kodansha Gakujutsu Bunko, 1976.
3 Ishida, R. Meiji-Taisyo-ki no Nihon no Chiri-gakkai no Shisou-teki Doukou (Intellectual
Trends in Geography in Japan in Meiji and Taisho Eras). Geographical Review
of Japan 44–8, 1971.
4 Kunimatsu, H. Jinsei-chirigaku Gairon (Overview of A Geography of Human Life),
Daisanbunmei-sha, 1978.
5 Yasuda, Y. Kankyo-ron no Aratanaru Chihei (A New Horizon in Environmental
Studies). Chiri (Geography) 32, 30–37, 1987.
6 Yasuda, Y. Sekai-shi no naka no Jomon Bunka (Jomon Culture of Japan in the
World History). Yuzankaku, 1987.
7 Yasuda, Y. Kyodai-saigai no Jidai wo Ikinuku (Surviving in the Age of Great Disasters).
Wedge Sensho, 2005.
8 Hatakeyama, S. Mori wa Umi no Koibito (Forest is Ocean’s lover). Bunshun
Bunko, 2006.
—Kaki Raisan (Admiration of Oysters). Bunshun Shinsho, 2006.
9 Murakami, K. Seimei no Bakajikara—Hito no Idenshi wa 97% Nemutteiru (Enormous
Potentiality of Life—97% of Human Genes Remain Dormant). Kodansha plus
alpha Shinsho, 2003;
—Samushingu gre-to no Michibiki—Kokoro no Kagaku kara Mietekitamono (Guidance
of Something Great—What Can Be Seen from the Science of the Mind). PHP,
2007.
10 Steffen, W., et al., IGBP Executive Summary, Global Change and the Earth System.
IGBP Secretariat Royal Swedish Academy of Sciences, 2004.
11 Oldfield, F. and Alverson, K.: The Societal Relevance of Paleoenvironmental
Research. Alverson, K. et al., (eds.): Paleoclimate, Global Change and the Future.
Springer, 1–11, 2003.
12 Yasuda, Y. Isshhinkyo no Yami (The Darkness of Monotheism). Chikuma Shinsho,
2006.
13 Yasuda, Y. Seimei Bunmei no Seiki E (Toward the Century of Civilization of Life).
Daisanbunmei-sha, Regulus Library, 2008.

วันอาทิตย์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2553

กระทรวงวัฒนธรรมมีบทบาทสำคัญมาก!

ความนำ



ในมติชนรายวัน(๑๑ ก.พ. ๔๘) คุณสุจิตต์ วงษ์เทศ เสนอว่า กระทรวงวัฒนธรรมไม่ควรมี

ท่านให้เหตุผลดังนี้

กระทรวงวัฒนธรรมไม่ควรมีขึ้นมาตั้งแต่ปฏิรูประบบราชการคราวที่แล้ว แต่รัฐบาลสมัยแรกไม่ฟัง เลยดันทุรังตั้งขึ้นมาดูเล่นเป็น "ของแปลก" แต่บางคนบอกว่าเป็น "สิ่งแปลกปลอม" ของสังคม
          ขอทบทวนแล้วปรับความเข้าใจให้ชัดเจนว่า วัฒนธรรม เป็นวิถีชีวิตของคนในสังคมตั้งแต่ระดับหมู่บ้านถึงชุมชนจนเป็นท้องถิ่น แล้วกว้างขวางเป็นประเทศ และเป็นโลกทั้งโลก ฉะนั้น วัฒนธรรมมีอยู่แล้ว เป็นอยู่แล้วตามธรรมดาๆ ธรรมชาติๆ มีทั้งสิ่งหยุดนิ่งแล้วเป็นทั้งสิ่งเคลื่อนไหวสอดคล้องกับสาระสำคัญว่ารู้เขา รู้เรา รู้โลก
           คนในสังคมเป็นผู้สร้างสรรค์ แล้วเลือกสรรวัฒนธรรมด้วยวิถีและวิธีของคนหมู่นั้นๆ เอง ไม่ต้องมีใครมา "บงการ" เหมือนประเทศที่ปกครองด้วยระบอบเผด็จการฟาสซิสม์ที่ล้าหลัง-คลั่งชาติ เมื่อความจริงมีอย่างนี้ กระทราวงวัฒนธรรมไม่จำเป็นต้องมีขึ้นจึงเป็นความจริง แต่รัฐบาลสมัยแรกคราวที่แล้วยังไม่หยั่งลึกถึงความจริง เลยให้มีกระทรวงวัฒนธรรมขึ้นมาเป็น "ของแปลก" และ "สิ่งแปลกปลอม"
          ผมเห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งกับคุณสุจิตต์ ว่ากระทรวงวัฒนธรรมนั้นเหลวไหลสิ้นดี คนไทยมีวัฒนธรรมอยู่แล้ว เป็นเจ้าของวัฒนธรรมที่ดี เช่นเดียวกับทุกชาติทุกภาษาในโลก หน่ายราชการที่ไหนจะบังอาจเล่นตัวเป็นเจ้าของวัฒนธรรม? ใครที่ไหนจะอวดตัวเป็นพระอาจารย์ชี้ขาดว่าวัฒนธรรมนี้ดี, นั่นชั่ว? ชาวสยามไม่มีวัฒนธรรมอยู่ในตัวหรือ? ถึงต้องมีข้าราชการเสือกสอนสังฆราชให้สวดมนต์? สอนจระเข้ให้ว่ายน้ำ? สอนปลาทูให้ถีบจักรยาน?
          แล้วในวันเดียวกัน(๑๑ ก.พ.) มีข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์เกือบทุกฉบับต่างชวนให้ผมคิดใหม่ว่า เมืองไทยจำต้องมีกระทรวงวัฒนธรรมให้ได้ ข่าวนั้นคือ มีสาวแก่(ทั้งเพศหญิงและเพศชาย)จำนวนมากต่างประท้วงป้ายโฆษณากางเกงในยี่ห้อ Jockey ว่าเป็นการประเจิดประเจ้อ ไม่สุภาพเรียบร้อย ยั่วยวนกามารมณ์ และละเมิดวัฒนธรรมไทย


          หนังสือพิมพ์ The Nation, 11 Feb. 05, หน้า 4A มีความว่า

           "ADVERTISEMENTS for an underwear company may be removed from Bangkok billboards if the Consumer Protection Board acts on public complaints about the ads being obscene. "Social advocates say they can't bear the sight of the signs, which feature a cople lounging together on a bed wearing nothing but underwear.
          "The Cultural Watch Centre's chief, Ladda Thangsupachai, said the agency has received numerous complaints from people who were offended by the billboards, which tower above several streets in the city, including Sukhumvit and Vibhavadi Rangsit roads.
          "Ladda said the ad, which includes the tagline, 'The next best thing to being naked', might be unsuitable for Thai society and harmful to Thai culture."


          ป้ายโฆษณานี้ประกอบด้วยสองคนชายหญิงสวมชุดชั้นในนอนอยู่บนเตียง หญิงถือถ้วยชา(หรือกาแฟ?) วางบนท้อง ชายกำลังอ่านหนังสือ ผมเข้าใจว่าเป็นผัวเมียนอนเล่นกันตามสิทธิอัธยาศัย บรรดาสาวแก่สงสัยว่าไม่ใช่ผัวเมียกันก็เป็นได้ แต่ท่านเอาหลักฐานที่ไหน? ผมดูแล้วดูเล่าไม่เห็นป้ายโฆษณาเซ็กซี่ตรงไหน ชะรอยบรรดาสาวแก่ทั้งชายหญิงคงมีญาณวิเศษ(หรือจิตมัวหมอง?) ถึงมองอะไรก็เห็นเป็นเรื่องเซ็กซ์ๆ กันทั้งนั้น แล้วท่านเชื่อจริงๆ หรือว่า "วัฒนธรรมไทย" จะพังทลายเพราะ "กางเกงใน?"
          ในสายตาผม โฆษณาป้ายนี้บกพร่องทางศิลปะ ไม่มีรสนิยม และขาดคุณค่าทางกามศิลป์(Erotic) มันยั่วยวนพอๆ กับโฆษณาผ้าอ้อมทารก จึงไม่น่าจะเป็นอันตรายต่อ "วัฒนธรรม" ของใคร และไม่น่ากระเทือนใจใคร นอกจากใครคนนั้นเป็นโรคจิตแฝงอยู่แล้ว ดังนี้ ผมเห็นว่าเมืองไทยจำเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีกระทรวงวัฒนธรรมไว้ปลอบใจบรรดาผู้ดีขวัญอ่อน

กระทรวงวัฒนธรรมและบทบาท
          หากกระทรวงวัฒนธรรมของไทยจะมีบทบาทที่มีความหมายสำหรับสังคมปัจจุบัน และหากจะมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ก็จำเป็นที่กระทรวงจะต้องมีหน่วยแพทย์ฉุกเฉิน กระทรวงจะได้ส่งรถพยาบาลไปเยียวยาหอมให้บรรดาสาวแก่(ทุกเพศทุกวัย) ที่เห็นภาพกางเกงในแล้วเป็นลมชักกลางถนน
          หากท่านผู้อ่านเห็นว่ากระทรวงวัฒนธรรมควรมีบทบาทหรือประโยชน์นอกเหนือที่เสนอนี้ กรุณาเขียนมาแจ้ง จะได้เป็นอุปการคุณต่อประเทศชาติ

ไมเคิล ไรท
มติชนสุดสัปดาห์ ฉบับวันที่ ๑๘-๒๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๘

วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เมื่ออำนาจวัฒนธรรมดนตรีถูกเพิกเฉย


ฉันไม่กล้ามานั่งเถียง ส่งสายตาจิก ยิ้มระรวยต่อสภาวะสถาบัน การเมือง ความเป็นปึกแผ่นของรัฐ ตามกลไกของสังคม อำนาจย่อมถือครองโดยผู้ใช้กฏ หัวหน้าเผ่า กษัตริย์ หรือแม้กระทั่งผู้ที่ถูกเลือกเป็นที่ยอมรับโดยสังคม

เมื่อสงครามชนชั้นเริ่มประทุขั้นภายหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม การถือครองอำนาจโดยทฤษฏีวิทยาศาสตร์ ระเบิด ตลอดจนเทคโนโลยีสมัยใหม่โดยมีเครื่องมือต่อรองที่ค่าของเงิน สถาบันคานอำนาจในโลกได้พยายามผนวกศูนย์รวมอยู่ที่วัฒนธรรมทุนนิยม รวมถึงวัฒนธรรมดนตรีสมัยนิยมที่ใช้รูปแบบอัตลักษณ์ปัจเจกบุคคลเข้ามาแบ่งวัด

กลไกของรัฐพยายามสร้างดนตรีให้เป็นเครื่องหมายประจำชาติ รัฐในอุดมคติ จนเผลอลืมตัวตนของมาตุภูมิสิ้น เมื่อสถาบันสังคม อำนาจถูกเปลี่ยนถ่าย ดนตรีถูกกระแสสมัยนิยมนำไปใช้ในทางเสรีชนมากขึ้น เมื่อขาดการควบคุมอำนาจเหล่านั้นอาจกระเจิงเพราะเกิดจากการชนกับอนุภาคต่างๆ ในสังคมมากขึ้น

วัฒนธรรมดนตรีพื้นบ้านกำลังจางหาย แห้งเหือดไปทุกที เพราะสิ่งเหล่านี้จะตกทอดเหลือเห็นเพียงซากความทรงจำ อันเป็นอนุสรณ์เสียงแห่งประวัติศาสตร์ส่วนบุคคลเท่านั้น เมื่อคนในรัฐถูกกระแสทุนนิยมชักจูงไปอย่างไร้ทิศทาง คนรุ่นเก่าเหล่านี้ย่อมตายไปพร้อมซากความทรงจำเหล่านั้นเช่นกัน


เมื่อกระบวนการคิด การใช้ชีวิตถูกคุกคามด้วยอำนาจสื่อ การพัฒนาทางด้านสังคมวัฒนธรรมย่อมถูกทลายไปด้วยการปักชำทางวัฒนธรรม หากเมื่อลมแรง พายุจากคาบสมุทรเกาหลีเข้าโจมตี ต้นไม้เหล่านั้นย่อมต้องหักโค่นพังทลายไปไม่เหลือชิ้นดี เพราะขาดซึ่งรากแก้วทางวัฒนธรรม

จะปลูกจิตสำนึกอย่างไร? ใคร? ที่ไหน? จากสงครามทางเศรษฐกิจที่บุกรุกอาณาเขตท้องถิ่น ห้างร้าน แผงลอย โทรศัพท์มือถือ วัฒนธรรมดนตรีสมัยนิยมกำลังบุกบ้านนอกด้วยห้างสรรพสินค้าวัฒนธรรมนอกลอกเลียนแบบ ก็เหมือนฝรั่งพูดไทย พูดยังไงก็ไม่ชัด ตอแหลยังไงก็ดูออก ร้านลุง ป้า คนท้องถิ่นเริ่มห่างหาย จางจาง ไป เหลือแต่เถ้าแห่งสังคมวัฒนธรรมชุมชน ที่มีแต่ตัว ไม่เหลือวิญญาณ--

วัฒนธรรมท้องถิ่นถูกใช้เป็นเครื่องมือส่งเสริมการท่องเที่ยว การขายวัฒนธรรมเริ่มปรากฏขึ้นบนการพัฒนาที่ไร้ทิศทาง จิตสำนึกของชุมชนเบ่งบาน และเกิดใหม่ภายใต้รั้วหลังคา มากว่าการมีส่วนร่วมของชุมชน คนข้างบ้านเริ่มไม่รู้จักกัน วัฒนธรรมชุมชนโดยมีวัดเป็นศูนย์กลางเริ่มพังทลาย ตอหม้อแห่งสถาบันกำลังถูกขุดคุ้ยโดยพวกนักการเมืองที่ใช้ความเป็นอนุรักษ์นิยม ถากถางประวัติศาสตร์ ส่งเสริมอำนาจใหม่ที่รวนเร


สุดท้ายแล้วทุกคนก็ลืมรากเหง้าของตนเอง แล้วจะพัฒนาไปได้อย่างไรเมื่อเราไม่รู้ว่าตัวเองเป็นใคร? หรือจะเลียนแบบเค้าอย่างไรก็ไม่เหมือนหรอก หรือจะปลูกใหม่ก็ช้าอย่างจะไดโนเสาร์ จะตามก็วิ่งตามไม่ทัน เหนื่อยก็เหนื่อย ลอยไปอย่างกับลูกโป่งสวรรค์ ถ้าไม่แตก ก็ร่วง

ด้วยวิธีเดียวที่สามารถชุบชีวิตสิ่งนั้นขึ้นมาได้คือ การศึกษา และวิจัย อาจดูเหมือนหลอกลวง เชยๆ แต่ความอุดมทางด้านทรัพยากรความรู้ในเหง้า ดนตรี วัฒนธรรมตนเองบ้านเรา และบ้านนอกของฉันยังขาดแคลนมาก ทุกอย่างควรจะกระทำบนพื้นฐานแห่งความจริง เหมาะสม หากไม่แล้ว ก็ควรสร้างสุสานไว้งามๆ แล้วก็ฝังไว้กับ ลุง ปู่ ย่า ทวด ของเราไป

Amelie

วันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

มี ไม่มี ว่าง ไม่ว่าง ดนตรี หรือไม่



บางครั้งคนเราก็ปฏิบัติ ธรรมได้ยาก เพราะบางครั้งมันก็เหมือนคำเชื้อเชิญให้เราก้าวออกจากสังคมมนุษย์ปัจจุบัน มากเหลือเกิน และไม่ยากเลยที่คนศึกษาจะมีความคิดต่อต้านสังคม ทวนโลก

บางคน อาจขวางโลกไปได้ก็มี หลักปรัชญาทั้งหลายก็เหมือนดนตรี มีจุดกำเนิด จุดจบ ไม่มีเพลงไหนที่ไม่มีวันจบ ไม่มีการแสดงไหนที่จะไม่กล่าวคำอำลา สัจธรรม นั้นอยู่ได้ในทุกสิ่ง มันก็เหมือนสูตรคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ทั่วไป มีเกิด มีขับเคลื่อน หมุน และดับ แต่พลังงานนั้นมิได้หายไปไหน แต่อาจเปลี่ยนแปลงรูปไปบ้างเท่านั้น

สำหรับ บทเพลง บางเพลงอาจจะแปรเปลี่ยนเป็นพลังในการตราตรึงใจแก่ผู้ฟัง หรือพลังในการก้าวเดินก็ได้ บางบทเพลง หรือบางกวีอาจมีพลังในการทำลายมหาศาลด้วยเช่นกัน หากจะถามว่า ดนตรีเกิดขึ้นมาได้อย่างไร ข้าพเจ้าก็คงคิดรวบยอดว่า มันเป็นสิ่งมหัศจรรย์เท่าๆ กับทุกชีวิตที่บังเกิดมาบนโลกใบนี้

ดนตรี คือสื่อในการแสดงความรู้สึก สามารถสะกด บำบัด ผ่อนคลาย ปลุกใจ หรือทำลายได้ทั้งสิ้น หากจะเปรียบเทียบเชยๆ ก็คงเปรียบเสมือนว่าดนตรีคือภาษาสากล ภาษาที่ทุกคนอาจไม่เข้าใจ บริสุทธิ์ แต่ก็เหมือนกลูโคสที่ฉีดเข้าสู่หัวใจ แล้วสดชื่นทันที

ข้าพเจ้า เชื่อเสมอว่า ดนตรีคือกระจกที่สะท้อนความเป็นไปของสังคม ในยุคอำนาจสื่อครองเมือง ดนตรีก็เปรียบเสมือนอีกหนึ่ง ในอัตลักษณ์บุคคล อีกหนึ่งของหน้าต่างแสดงความเป็นไปของชีวิต หัวใจ เราจะซาบซึ้งเพลงเศร้าเมื่อยามอกหัก เราจะสนุกเมื่อเพลงมีจังหวะเร่งเร้า เฉกเช่นนักประพันธ์ที่แต่งเพลงประกอบภาพยนตร์ทั่วไปเพื่อเร้าอารมณ์ให้ไปใน ทิศทางที่ถูกต้อง

สถาบัน คานอำนาจต่างนำพลังของดนตรีมาผสาน ผสม ให้เกิดอิทธิ-ปาฏิหาริย์ บางครั้งเพลโตอาจจะพูดถูกว่าสิ่งที่สมควรได้รับความควบคุมในรัฐมิใช่เพียง แต่ผู้คนอย่างเดียว แต่ปรากฏดนตรีด้วย ข้าพเจ้าสังเกตแนวโน้มสังคม วัฒนธรรม ที่กำลังเคลื่อนย้ายถ่ายเทอย่างเสมอ โดยเฉพาะวัยรุ่น พวกนี้ดูเหมือนว่าจะยึดดนตรีเป็นสรณะ บางครั้งมันก็เข้ามาควบคุมพฤติกรรมโดยไม่รู้ตัว

สิ่ง หนึ่งของสังคมไทยที่ยังไม่เปลี่ยนแปลงตั้งแต่สมัยหมอฝรั่งเข้ามาเผยแพร่คริสตศาสนาคือ ดนตรีขับเคลื่อนไปตามอำนาจหลักของสังคม ถึงแม้ว่าสังคมสยามจะมีอิสระเสรีภาพ ณ จุดหนึ่ง แต่ก็ยังมีอีกหลายจุดที่บ่งบอกถึงว่าสังคมที่ยังไม่อาจพังทลายกรอบแนวคิดไป ได้อีกมาก เราไม่มีคำถามเกี่ยวกับศาสนา เรายังไม่กล้าถกเถียง หรือพิสูจน์ความจริงบางอย่าง และอีกหลายอย่างซึ่งเป็นสิ่งน้อยนิดคุณค่ามหาศาล เรากลับลืมไปเสียโดยดื้อ

การ ศึกษาช่วยจรรโลงสมองให้คนฉลาดจริงหรือ ความรู้มีประโยชน์ สามารถแลกเปลี่ยน ถ่ายเท เสมือนทำนองเพลงที่สามารถคัดลอก ตัดวางได้ทั่วทุกหนแห่ง แต่เราทำสิ่งนั้นโดยปราศจากแนวคิดและอารมณ์สุนทรีย์หรือไม่ เมื่อมีคำว่าถูก ย่อมมีคำว่าผิด เรากลัวเขียนโน้ตผิดทฤษฏีเสมอ สิ่งนั้นมันคือกรอบปิดกั้นให้เราห่างออกจากคำว่าสิ่งใหม่ ความคิดสร้างสรรค์เสมอ 

สังคม เปลี่ยน คนเปลี่ยน ดนตรีเปลี่ยน อะไร อะไรก็เปลี่ยน ทุกอย่างวนอยู่ในภาวะการเกิดดับ หามีถูกผิดไม่ ความงามของชีวิตอยู่ที่กำเนิด ดำเนิน จุดหมาย เสมือนการปั่นจักรยาน สุนทรียะอยู่ที่การขับเคลื่อน เคลื่อนที่ เคลื่อนไหว วิวต่างๆ สถานที่ต่างๆ อากาศต่างๆ ทุกอย่างใหม่เสมอ และยังคงสร้างความตื่นเต้นไม่คลาย 

อนาคต ข้างหน้า ไม่ว่าจะแตก ดับ อยู่ หรือไป มนุษย์ที่มีหูสองข้าง ยังจำเป็นต้องรับฟังทำนองเสียงอันจรรโลงจิต เสมือนอิสระเสรีของวิญญาณ ใครหนอที่พูดว่าดนตรีคือเครื่องมือของพวกเต้นกินรำกิน ใครหนอคิดว่าดนตรีคือสิ่งเปล่าประโยชน์ แล้วคุณฟังดนตรีหรือไม่? พลังของดนตรีนั้นมีมากมายมหาศาล บางครั้งก็เหมือนระเบิดที่ไร้สี รูปพรรณ แต่อำนาจนั้นล้ำลึกเหลือคณานับ 


และก็ ดูเหมือนจะยิ่งทวีคูณเมื่อไปสัมผัสกับระบบภาษาของมนุษย์ ดนตรีคือทำนองที่ขับเคลื่อนไปด้วยเส้นกั้นของเวลา เสมือนสายพานลำเรียงความรู้สึกสู่จิตใจ ข้าพเจ้าเชื่อสนิทใจว่า คำถามเกิดขึ้นที่ตัวคำตอบ และคำตอบสามารถหาได้จากคำถามเสมอ ดนตรีคือดนตรี และ ไม่มีอะไรนอกจากเสียง ดับไป แต่กลับทิ้งกลิ่นอันอบอวลไว้ในใจเสมอ บางครั้งเราก็ทำอะไรไปโดยไม่รู้ตัวใช่ไหม? หรือความจริงแล้วไม่มีอะไรเกิดขึ้นมาเลย?



Amelie

วันอาทิตย์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

มันคือจดหมาย


ถึงนักการเมืองผู้เรืองยศ
เคยกบฏเคียงบ่าฝ่าวิถี
เคยห้ำหั่นฟันฝ่าเข้าราวี
เคยร่วมหนีฝีปืนที่ยืนยิง

 เคยชุมนุมสุมหัวไม่กลัวเกรง
เคยร้องเพลงกลางไพรจุดไฟผิง
เคยกู่ก้องร้องเพรียกเรียกคนจริง
เคยสู้ยิงแลกชีวิตพิชิตเมือง

เคยชูประชาธิปไตยไว้สูงค่า
เคยถูกตราเป็นวิหกเจ้านกเหลือง
เคยคิดกู้ผู้ไร้ให้ประเทือง
เคยฝันเฟื่องเข้าสภา "ข้าจะทำ"

ข้าจะช่วยเพื่อนไทยให้พ้นทุกข์
ไม่เสพสุขไต่เต้าเฝ้าถลำ
ไม่ทิ้งผู้ยากไร้ให้ระกำ
จะร่วมทำเพื่อผองชนคนเดินดิน

ถึงวันมีอำนาจราชศักดิ์
กลับจมปรักหนักหน่วงห่วงทรัพย์สิน
เห็นแก่ตัวทั่วถ้วนล้วนมลทิน
สลัดดินสู่ดาวขึ้นราวฟ้า

เสียงจากเพื่อนพ้องและน้องพี่
เป็นเสียงที่แหบหายดูไกลกว่า
เป็นเสียงจากปลายแถวแนวพนา
อยู่สภาไม่ได้ยินคนดินร้อง

เพราะเพื่อนพ้องในสภาพูดจาเพราะ
เสียงเสนาะไพเราะหูดูกึกก้อง
เป็นเสียงแห่งเสียงธรรมตามครรลอง
นั่งลูบทองนับเงินเพลิดเพลินใจ

ลืมคาวเลือดเดือนพล่านบนลานดิน
ลืมทั่วถิ่นกลิ่นป่าทิ้งนาไร่
ลืมสัจจะวาจาที่กล่าวไว้
ลืมกองไฟสุขชื่นค่ำคืนเพ็ญ

ทาสไท พิทักษ์ชน
๑๓ ก.ค. ๓๙


วันจันทร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

มนัส นรากร (จิตร ภูมิศักดิ์) หลุมฝังศพของดนตรีไทย อยู่ที่อะไร?และที่ไหน?

มนัส นรากร (จิตร ภูมิศักดิ์)
หลุมฝังศพของดนตรีไทย อยู่ที่อะไร?และที่ไหน?

วิชัย นภารัศมี
---------------------------------------------

บทความพิเศษเกี่ยวกับดนตรีไทยของมนัส นรากร หรือจิตร ภูมิศักดิ์ นี้มีหลายตอนด้วยกัน เท่าที่คัดมามีดังนี้

๑. หลุมฝังศพของดนตรีไทย อยู่ที่อะไร? และที่ไหน?

(พิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ไทยใหม่ ฉบับวันที่ ๓, ๔ สิงหาคม ๒๔๙๗)

๒. จังหวะชีวิตนั้นเราคำนึงกันนัก แต่จังหวะของดนตรีไทยเล่า?

(พิมพ์ครั้งแรกในไทยใหม่ ฉบับวันที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๔๙๗)

๓. "ค่ำเช้าเฝ้าสีซอ เข้าแต่หอล่อกามา" นั้น ความจริงของมันมีอยู่แค่ไหน?

(พิมพ์ครั้งแรกในไทยใหม่ ฉบับวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๔๙๗)

๔. พิพิธภัณฑ์ของดนตรีไทย ใครเป็นผู้สร้างมันขึ้น?

(พิมพ์ครั้งแรกในไทยใหม่ ฉบับวันที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๔๙๗)

๕. ดนตรีไทยเดิมนั้นเรามิได้ละทิ้ง ชนหยิบมือหนึ่งขโมยไปต่างหาก

(พิมพ์ครั้งแรกในไทยใหม่ ฉบับวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๔๙๗)



ครั้งที่จิตรเขียนบทความชุดดนตรีไทยนี้ จิตรอายุเพียง ๒๔ เท่านั้น ย่างเข้าเบญจเพสพอดี เป็นที่รับรู้กันทั่วไปว่าจิตรเชี่ยวชาญเรื่องดนตรีไทยผู้หนึ่ง และสนใจดนตรีไทยตลอดมา เรื่องสั้น "จากพญาฝันถึงทยอยใน" ที่ลงในอักษรานุสรณ์ ปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ก็เป็นเรื่อง "สื่อรัก" จากรสดนตรีไทย หลังจากบทความดนตรีไทยชุดนี้ จิตรยังมีผลงานเท่าที่ค้นพบคือวิเคราะห์เพลงไทยเดิม โสมส่องแสง (เถา) และขอบฟ้าเขาเขียว (หาอ่านได้ในหนังสือเสียงเพลงแห่งการต่อต้าน สนพ.วังหน้า ๒๕๒๑) อีกในยุคหลัง

-
และจิตรยังมีสมุดปกแข็งบันทึกโน้ตเพลงดนตรีไทยอีก ๔ เล่ม ซึ่งจิตรทำไว้สมัยถูกคุมขังในเรือนจำลาดยาว (พ.ศ. ๒๕๐๑-๒๕๐๘)แน่นอนที่ว่างานที่เขียนในยุคหลังๆ ของจิตรที่ความคิดตกผลึกแล้ว ย่อมดีกว่างานที่เขียนในยุคต้นๆ ที่เขียนไปศึกษาไป ข้าพเจ้าพบศัพท์คำหนึ่งที่จิตรใช้เปลี่ยนไปจากยุคแรกๆ คือคำว่า serenade ซึ่งในบทความชุดนี้ใช้ว่า "เกี้ยวพาราสี" แต่ในยุคหลังๆ จะใช้ว่าเป็นเพลงประเภท "พ้อรักและอาลัย"
แต่ถึงว่าจะเป็นงานยุคเขียนไปศึกษาไป บทความพิเศษชุดดนตรีไทยชุดนี้ก็ยังมีอะไรใหม่ที่เป็นข้อคิดสำหรับเราหรือผู้ อ่านทุกคนที่จะอ่านอย่างพินิจพิจารณา


เมื่อไม่ช้าไม่นานมานี้ สถานีวิทยุแห่งหนึ่งของไทย คือสถานีวิทยุจเรทหารสื่อสาร ได้ซาวเสียงจากผู้ฟังว่านิยมฟังเพลงสากล, ไทยสากล หรือไทยเดิม ผลปรากฏว่า "แฟน" เรียกร้องเพลงสากลเป็นลำดับที่หนึ่ง ส่วนเพลงไทยเดิมนั้นได้ยินว่ามีเพียงเปอร์เซ็นต์เดียวเท่านั้น ท่านพวกผู้เฒ่าผู้แก่ก็พากันบ่นว่าเพลงไทยเดิมอันไพเราะเพราะพริ้ง และเยือกเย็น นับวันจะสูญสิ้นไปทุกที อีกหน่อยก็ไม่มีใครรู้จักเพลงเขมรไล่ควาย, ไส้เดือนฉกตวัก, คุดทะราดเหยียบกรวด หรือจระเข้หางยาว กันอีกแล้ว แล้วท่านก็ถอนใจเฮือกใหญ่

-
ก็ด้วยเหตุไฉนเล่า เพลงไทยเดิมจึงกำลังจะสาบสูญ? เด็กหนุ่มสาวรุ่นใหม่นี้ไม่รักของเก่าของไทยหรือ? ไม่รักวัฒนธรรมของชาติไทยอันเป็นมรดกของบรรพบุรุษหรือ? ยังก่อน ข้าพเจ้ายังไม่พึงปรารถนาจะโทษหนุ่มสาวรุ่นนี้ ซึ่งมีตัวข้าพเจ้ารวมอยู่ด้วย สาเหตุที่เพลงไทยกำลังสูญและจะต้องสูญอย่างไม่มีปัญหาในกาลต่อไปเหมือนชามเบญจรงค์นั้น ไม่ได้อยู่ที่พวกเด็กรุ่นนี้ ไม่ใช่ความผิดของเราเลยจริงๆ หากอยู่ที่ "ลักษณะอันไม่ยอมเคลื่อนไหว" ของเพลงไทยเดิมเองต่างหาก ขอให้เราวิจารณ์กันอย่างเปิดเผยและตรงไปตรงมาที่สุด
-
ประการแรกที่จะชี้ให้เห็นก็คือเครื่องมือ เครื่องไม้เครื่องมือในการบรรเลงเพลงไทยเดิมของเรามีลักษณะที่ง่ายต่อการ สาบสูญอยู่อย่างหนึ่ง คือไม่ยอมเปลี่ยนแปลง เมื่อสมัยโบราณเป็นมาอย่างไร สมัยนี้ก็ยังคงเป็นอยู่อย่างนั้น เราไม่คิดที่จะปรับปรุงให้ทันสมัยขึ้นหรือให้พิสดารออกไป ซอด้วงหรือซออู้เคยเป็นอยู่อย่างไรเราก็คงปล่อยให้เป็นอยู่อย่างนั้น เราไม่นิยมใช้ความคิดที่นอกแนวทางหรือความคิดริเริ่ม เพื่อปรับปรุงให้สุ้มเสียงของมันให้มากขึ้น ดังกังวานนุ่มนวลกว่าเดิมซึ่งดังแจ๊ดแสบแก้วหูหรือดังอ้อแอ้อย่างอืดอาด ที่เป็นทั้งนี้ก็เนื่องด้วยเรามีประเพณีอยู่อย่างหนึ่ง คือศิษย์จะต้องไม่นอกครู ถ้าศิษย์เกิดดีกว่าครูขึ้นมา เราก็จะเหมาว่าเป็น "ลูกศิษย์คิดล้างครู ลูกไม่รู้คุณพ่อมัน" ดังที่ปรากฏอยู่ในหนังสือ "จินดามณี" แบบเรียนสมัยอยุธยาตอนกลาง ซึ่งยังใช้มาจนถึงสมัยกรุงแตก! และเชื่อว่าถ้ากรุงไม่แตกเราก็คงใช้กันต่อมาอีกนาน

            ด้วยเหตุนี้เองที่บังคับให้ศิลปินของเราไม่พะวงถึงการปรับปรุงเครื่องไม้เครื่องมือให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น เราจะพะวงแต่การประดับประดาเครื่องดนตรีให้งดงามถึงขนาดประกวดประขันกัน เช่นซอด้วงจะต้องทำด้วยงาทั้งคัน ซออู้ก็ต้องใช้คันงา กะโหลกต้องแกะสลักอย่างวิจิตรพิสดาร ซึ่งสิ่งเหล่านี้มันก็ดีอยู่ แต่มันก็ไม่ทำให้คุณภาพทางดนตรีของเครื่องดนตรีเหล่านั้นดีขึ้นเลย ยิ่งเป็นซอสามสายด้วยแล้ว คันซอจะต้องทำด้วยทองคำหรือนากหรือเงิน บางครั้งก็มีลวดลายเป็นถม กะโหลกซอก็ต้องเสาะหากะลาที่มีนมสามนม ซึ่งหายากเย็นเต็มประดา หนังที่ขึงหน้าซอต้องถ่วงด้วยเพชรหรือทับทิมเม็ดเขื่องๆ ยิ่งนับวันก็ยิ่งทำให้ซอสามสายเลือนไปจากความทรงจำของประชาชน ทั้งนี้เพราะผู้เล่นถ้าหาซอวิเศษอย่างนี้ไม่ได้ ก็ไม่กล้านำเอาซอธรรมดาออกมาแสดงฝีมือ

-
นั่นแหละ ถ้าจะว่าไปเครื่องดนตรีของฝรั่งบางอย่างก็วิจิตรพิสดาร ราคานับหมื่นเช่นปิอาโน แต่ทว่าคุณลักษณะของมันคุ้มค่า เสียงของปิอาโนมีพอเพียงจนแทบจะเหลือเฟือ มีทั้งเสียงหลัก เสียงผสาน และเสียงธรรมชาติ ตลอดจนแสดงอารมณ์ได้ใกล้เคียง ส่วนซอสามสายคุณลักษณะเทียบกันกับปิอาโนไม่ได้เลย เราจะมีเสียงผสานได้แต่เพียงเสียงสองเสียง ซึ่งก็ดังแพร่ดๆ พิกล ถ้าเราเอาใจใส่ในประสิทธิภาพซอสามสายบ้าง สักครึ่งหนึ่งของความเอาใจใส่ในรูปร่างอันงดงามของมัน บางทีซอสามสายอาจจะยังอยู่ในความนิยมของประชาชน โดยที่มันเพิ่มสายขึ้น เป็นสี่หรือหก มีเสียงที่นุ่มนวลกว่านี้ เล่นได้ง่ายกว่าที่เก้งก้างเต็มประดา กล่าวคือต้องตั้งกับพื้น พุ่งออกไปห่างตัวและค่อยๆ ประคองสีอย่างทะนุถนอมอย่างเช่นเดี๋ยวนี้
-

ซอสามสายนั้นที่จริงเคยมีวิวัฒนาการมาเหมือนกัน เดิมทีเดียวเป็นของชวา มีเพียงสองสาย มีเสียงเพียง ๕ เสียงเท่านั้น แต่เขมรเมื่อพันปีก่อนรับเข้ามาดัดแปลงแก้ไขขึ้นเป็นสามสาย มีเสียงครบ ๗ เสียง ครั้นมาถึงเมืองไทยซอสามสายก็เลยย่ำเท้าอยู่ที่เดิม เมื่อมันย่ำเท้าแต่สภาพชีวิตของผู้เล่นไม่ย้ำเท้า ตรงข้ามกลับพัฒนารุดไปข้างหน้า ดังนี้มันก็ต้องกลายเป็นของไม่เหมาะ และต้องสาบสูญไปในที่สุด ซึ่งเป็นของธรรมดาเหลือเกิน

 -
เครื่องดนตรีของไทยที่สูญไปแล้วก็มีอยู่ให้เห็นเป็นตัวอย่างหลายสิ่ง เช่น กระจับปี่ เครื่องดนตรีชนิดนี้เดิมเล่นอยู่ในวงเครื่องสาย เล่นก็ยาก เสียงก็ค่อย เล่นเดี่ยวก็ไม่ค่อยเพราะ ได้แต่ใช้ผสมไปกับเครื่องอื่นๆ แต่เราก็ทนเล่นไปโดยไม่คิดจะปรับปรุง ครั้นมาราวรัชกาลที่ ๓ เราได้จะเข้มาจากมอญ เสียงจะเข้ดังกว่า เพราะกว่า เวลาเล่นร่วมกันในวงกระจับปี่จะถูกจะเข้กลบหมด ในที่สุดกระจับปี่ก็ถูกทิ้งและลืมกันสนิทจนสูญไปในปัจจุบัน
-
            ถ้าเราจะหันไปดูดนตรีของฝรั่ง ทุกอย่างของเขาย่อมมีพัฒนาการมาเป็นลำดับ บางชนิดก็เริ่มมาจากเครื่องดนตรีดั้งเดิม (Primitive) อย่างเดียวกับเรา เช่นพิณชนิดหนึ่งที่ทำด้วยกะโหลกผลไม้เราก็เคยมี เรียกว่าพิณน้ำเต้า คือทำจากกะโหลกน้ำเต้า พิณของดั้งเดิมดึกดำบรรพ์นี้มีสายเดียวเท่านั้น แต่ทว่ามีครบครันทุกเสียง และมีหางเสียง (Harmony) ตามหลักดนตรีสากลอีกด้วย ครั้นถึงบัดนี้พิณน้ำเต้าสายเดียวของเราก็คงมีรูปอย่างเดิม และสูญไปแล้วจากภาคกลาง ยังเหลือแต่ตามชนบทบางแห่ง ส่วนของฝรั่งเขาพัฒนามาเป็นแมนโดลิน, แบนโจ, กีตาร์ ที่เรากำลังคลั่งกันอยู่เดี๋ยวนี้

 -
การรักษาไว้ซึ่งดนตรีไทยนั้น ข้าพเจ้าคิดว่าเราจะทำได้เหมือนกัน ไม่ใช่ว่ามีทางเดียวคือปล่อยให้มันสูญไปเฉยๆ แต่ถ้าจะตกลงใจรักษาไว้เราก็ต้องยอมให้มันพัฒนา ชีวิตของเด็กตามสภาวะที่สังคมกำลังแปรเปลี่ยนไปในบัดนี้ มันมีลักษณะผาดโผน มีชีวิตชีวาผิดกับสมัยก่อน เสียงของดนตรีที่เคยทำให้เด็กคุ้นเคยกับการพับเพียบ, คลานศอก, เก็บตัว, หัวอ่อน, ว่าง่าย, คิดเหมือนผู้ใหญ่สอนให้คิด นั้นมันไม่เพียงพอและไม่เหมาะสมเสียแล้วกับเด็กสมัยนี้ เราจำต้องยอมให้มันมีการพัฒนาไปตามเงื่อนไขของความผันแปรแห่งสังคม
 -
เครื่องดนตรีบางอย่างของเรา เช่นจะเข้ วิธีเล่นของเราทารุณมากไป ผู้เล่นจะต้องมัดไม้ดีดเข้ากับนิ้วชี้ข้างขวาแน่นเปรียะ จนมือเขียวและปวด ถ้าไม่อดทนจริงๆ ก็เล่นไม่ได้ และเมื่อเล่นแล้วมือก็เสีย นิ้วแตก นี่ก็เป็นลักษณาการของการสงวนศิลปะแบบหนึ่งของคนโบราณ ศิลปะทุกอย่างตั้งแต่การไสยศาสตร์เหลวไหลมาจนถึงดุริยางคศิลปะ "ครู" มักจะวางกับวางอุปสรรคกั้นไว้อย่างแน่นหนาเสมอ มิให้ศิษย์ได้ไปง่ายๆ จะเข้ของเรานั้นเสียงเพราะจับใจ ถ้าเราได้ปรับปรุงกันให้เล่นได้ง่าย รูปร่างเหมาะอย่างกีตาร์และเสียงใสกังวานขึ้น แทนจะเอาเด่นทาง เสียงแตกแต่อย่างเดียว และวิธีเล่นพอที่จะเปิดโอกาสให้ผู้เล่นยกขึ้นดีดแนบกับตัวได้ เฮฮาไปกับหมู่เพื่อนฝูงได้ ไม่ต้องนั่งพับเพียบอกแอ่นก้มหน้าก้มตาดีดจะเข้ที่วางหนักอึ้งอยู่กับพื้นอย่างเดี๋ยวนี้ บางทีจะเข้อาจจะมีชีวิตอยู่ได้ตลอดไปอีกนาน
 -
ถ้าว่ากันตามจริงแล้ว เวลาดูนักเล่นดนตรีไทยบรรเลงเพลง จะหามุมที่สง่าไม่ค่อยได้ ผิดกับวงดนตรีสากลตรงกันข้าม จริงอยู่เป็นธรรมเนียมไทยที่จะต้องนั่งพับเพียบเรียบร้อย แต่เดี๋ยวนี้ชีวิตจริงของเราไม่เป็นเช่นนั้นแล้ว เราเลิกนุ่งโจงกระเบนอันดูต้วมเตี้ยมมานุ่งกางเกงสากลอันสง่าผ่าเผย ท่าทางของเราก็อกผายไหล่ผึ่งแบบสากลโลก แล้วลักษณะนักดนตรีที่จะต้องถอยหลังไปนั่งซึมกะทือเหมือนเมื่อครั้งยังนุ่งผ้าโจงกระเบน มันจะเป็นการเหมาะสมชวนใจเด็กหนุ่มสาวสมัยนี้ได้อย่างไร?
 -
การที่จะยอมให้เครื่องดนตรีของไทยพัฒนานั้น บางคนที่เป็นคนหัวโบราณสักหน่อยอาจจะเสียดายของเก่า ถ้าเป็นเช่นนั้นมันก็จะสูญเปล่า เราไม่ควรมัวเสียดาย ควรรีบหาทางออกให้มันเสียแต่บัดนี้ และผู้ที่จะหาทางออกให้มันได้ก็คือศิลปินเองไม่ใช่ใครอื่น เดี๋ยวนี้ยุโรปและทั้งโลกกำลังหาทางออกให้แก่ modern art แล้วศิลปินดนตรีไทยเดิมเล่าจะไม่ยอมหาทางออกให้ดนตรีไทยเดิมของเราบ้างหรือ?

-
จังหวะชีวิตนั้นเราคำนึงกันนักแต่จังหวะของดนตรีไทยเล่า?

-
            ปัญหาเกี่ยวกับดนตรีและเพลงไทยเดิมนี้ ข้าพเจ้าได้วิพากษ์ไว้แล้วในสองตอนแรก ถึงต้นตอแห่งความเสื่อม และกำลังเดินทางไปสู่ความสาบสูญ ซึ่งในตอนนั้นเป็นข้อวิพากษ์เฉพาะในด้านเครื่องดนตรี อันมีลักษณะ "ไม่ยอมพัฒนา" ในตอนนี้จะได้วิพากษ์ถึงทำนองและลีลาของเพลง อันเป็นต้นเหตุของความเสื่อมอีกประการหนึ่ง
ถ้าหากนักดนตรีไทยจะลองทำใจป้ำถามเด็กรุ่นทีนเอจเดี๋ยวนี้ดูบ้าง ถึงความรู้สึกของเขาต่อดนตรีไทยเดิม คำตอบที่จะได้รับเป็นประโยคแรกก็คือ "ฟังแล้วไม่เห็นรู้เรื่อง เหมือนๆ กันไปหมด" ซึ่งคล้ายกับว่าคำตอบนี้ติดอยู่ที่ริมฝีปากเขาอยู่ตลอดกาล และพร้อมเสมอที่จะเสมอตัวมันเองออกมาสู่หูใครก็ได้ในทันที โดยไม่ต้องรีรอให้ขอร้องหรือบังคับขู่เข็ญเลย
 -
การที่เพลงไทยฟังดูแล้วเหมือนๆ กันหมดนั้น ก็เพราะทำนองเพลงของเราเท่าที่เป็นอยู่บัดนี้ ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ความสังเกตเลยแม้แต่น้อย ก็จะเห็นได้ถนัดชัดเจนว่าระดับเสียงของเพลงเคล้าคละอยู่ใกล้เคียงและเสมอกัน ไปหมด ไล่เสียงขึ้น, ไล่เสียงลง, ข้ามเสียงโน้นบ้าง, ข้ามเสียงนี้บ้าง เป็นไปอย่างเรียบๆ น้อยครั้งนักที่จะพบการกระโดดของเสียง เวลาฟังเพลงไทยจึงไม่รู้สึกว่ามีความสูงต่ำของเสียงผิดแผกกันเท่าใดนัก ทั้งนี้เป็นเพราะระเบียบการแต่งเพลงไทยนั้นบังคับไว้ว่าผู้แต่งจะต้องยึด เสียงใดเสียงหนึ่งไว้เป็นหลัก หรือเป็นแกนกลางของเพลง ถ้าจะเปรียบก็เหมือนไม้ค้างพลูผุๆ ปักตรงอยู่บนเนินดิน ส่วนทำนองปลีกย่อยที่จะประกอบให้เป็นเพลงนั้นก็ต้องใช้เสียงที่ใกล้เคียง หรือมีระดับเดียวกับเสียงแกน แต่งพันไปก็พันมา เหมือนเถาพลูที่พันไม้ค้าง เช่นเพลงเขมรโพธิสัตว์ ใช้เสียงฟาเป็นหลัก ทำนองเพลงจึงฟังดูเป็นเกลียวไปหมด ไม่มีอะไรแปลกหรือกระตุกอารมณ์ผู้ฟังเอาเลยตลอดเพลง
 -
จริงอยู่ มีบางเพลงที่ใช้ระดับเสียงสูงต่ำกระโดด โลดโผนเห็นได้ชัด แต่เพลงที่มีลักษณะอย่างนั้นมีอยู่น้อยเหลือเกิน และการใช้เสียงสูงต่ำปรูดปราดขึ้นลงอย่างที่ว่านั้น บางทีถ้าไม่ตั้งใจฟังก็จับไม่ได้เลย ที่เป็นดังนี้นั้นเนื่องมาจากความจำกัดตายตัวของระดับเสียงของเครื่องดนตรี ของเรา ซึ่งเรามีเสียงน้อยเกินไป ความจำเป็นจึงบังคับให้เราต้องขะมักเขม้นเอาดีกันในทางวกวน ย้อนไปย้อนมา ในเรื่องเสียงของเครื่องดนตรีไทยนั้น ความจริงเรามีลักษณะเป็นของเราโดยเฉพาะอยู่เหมือนกัน คือสเกลแบ่งเสียง ของเราไม่เท่ากับของสากลทุกเสียงทีเดียว ซึ่งลักษณะอย่างนี้เราก็ควรรักษาไว้เป็นของเรา แต่ถ้าว่าในด้านจำนวนเสียง ที่เรามีเพียง ๗ เสียงอย่างเดี๋ยวนี้ เราไม่ควรกอดรักษาไว้ "จนสุดใจขาดดิ้น" อีกแล้ว เราควรมีเสียงแทรกเพิ่มขึ้นให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ซึ่งในกรณีนี้เราอาจจะต้องเพิ่มสายหรือเพิ่มเครื่องให้เสียงขึ้นบ้างตามที่ เคยได้กล่าวไว้แล้ว การจะทนไล่เสียงวนไปวนมา หลบขึ้นหลบลงอยู่เพียงสามนิ้วเหมือนซอด้วงซออู้นั้นเราต้องเลิกกันจริงๆ
 -
เคยมีนักดนตรีไทยเดิมมือดีหลายท่านตั้งข้อสงสัยถามข้าพเจ้าว่า จะให้แทรกเสียงเพิ่มขึ้นเพื่อประโยชน์อะไร ในเมื่อเพลงไทยทุกเพลงก็ใช้เสียงเพียง ๗ เสียงเท่านั้นเอง ไม่ต้องการเสียงมากกว่านั้นอีกเลย ที่ถามดังนี้เป็นเพราะเขามองในทรรศนะเก่าๆ ข้าพเจ้าไม่ต้องการให้เพิ่มสเกลเสียง ไว้ดูเล่นโก้ๆ หากเพื่อเป็นการเปิดช่องให้ทำนองเพลงของเราพัฒนา, พังกรอบการวกวนไล่ขึ้นไล่ลงตามแบบเก่า, ตามความพัฒนาของเครื่องมือออกไป ก็ไม่เพราะความบังคับจำกัดของเสียงหรอกหรือที่ทำให้เพลงไทยเดิมดูไม่มีชีวิต ชีวาเอาเสียจริงๆ ชวนให้หลับมากกว่าปลุกให้ตื่น? ซึ่งถ้าจะว่ากันตามจริงก็เป็นความประสงค์ของเราอย่างนั้นมาแต่ดั้งเดิม นักดนตรีฝีมือเยี่ยมของเราจะต้องเล่นให้เก่งถึงขนาดสะกดผู้ฟังให้หลับไปกับ ที่! เช่นพระอภัยมณีนักเป่าปี่มือดีของวรรณคดีชิ้นหนึ่งของเรา ทั้งนี้เป็นการตรงข้ามกับดนตรีของอีกหลายๆ ชาติ ซึ่งผู้บรรเลงจะต้องบรรเลงเพื่อปลุกและเร้าอารมณ์ผู้ฟังให้มีชีวิตชีวา แม้จะเป็นเพลงโศกเพลงเศร้า ก็ต้องเป็นไปในทำนองที่บีบคั้นหัวใจ ตรึงผู้ฟังไว้กับความเศร้าของเพลง มิใช่เพลงเศร้าแบบของเราส่วนมากที่ใช้กล่อมให้หมดเรี่ยวแรง และ "ให้ฟังเพลงเพลินหลับระงับไป"!
-
            สาเหตุที่ทำให้เพลงไทยดูเหมือนๆ กันไปหมดอีกอย่างหนึ่ง ก็คือระเบียบของกฎเกณฑ์ เรามีข้อบังคับและกฎเกณฑ์มากมายหยุมหยิมจนกลายเป็นบีบบังคับ ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะ, ทำเนียม และทำนองของระเบียบสังคมอันเลยเถิดในการคุกเข่า, คลานศอก, พูดจา ของผู้ดีโขยงเล็กๆ ที่มีอิทธิพลยิ่งใหญ่ในสมัยโบราณ จังหวะฉิ่งฉับของเพลงทุกเพลงกำหนดเป็นกฎตายตัวว่าจะต้องหารด้วย ๘ ลงตัวเสมอไป กล่าวคือ เพลงไทยทุกเพลงจะต้องแบ่งออกเป็นวรรค วรรคหนึ่งๆ จะต้องมี ๘ จังหวะฉิ่งฉับ กฎนี้จะละเมิดมิได้ ด้วยการบังคับแจอย่างนี้เอง ทำให้เวลาแต่งเพลงเกิดขลุกขลัก คือเมื่อทำนองเพลงแท้ๆ ที่คิดขึ้นใหม่มีจำนวนไม่พอ ผู้แต่งก็จำต้องจับเอาเสียงอะไรก็ได้ที่อยู่ในระดับเดียวกันยัดลงไปให้ครบ ๘ จังหวะฉิ่งฉับตามกฎ สิ่งที่จับยัดเข้าไปนี้เรียกว่า "เท่า" ตามภาษาเพลงหมายถึงตัวที่ทำให้จังหวะเพลงเท่ากับแบบแผน และไอ้ตัวเท่านี้ก็มักมีอยู่เพียงแบบสองแบบ เมื่อต้องระบาดไปทั่วทุกเพลงจึงยิ่งทำให้เพลงเหมือนกันยิ่งขึ้น ทำไมหนอเราจึงไม่คิดทำลายโซ่แห่งพันธนาการอันอึดอัดนั้นเสีย เพื่อปล่อยให้ลีลาและจังหวะของเพลงเป็นอิสระ มิใช่มีแต่เพียงฉิ่งฉับ ๘ ครั้งแต่อย่างเดียวตลอดกาล??
-
            จังหวะของเพลงไทยนั้นที่จริงตามที่โบราณจัดไว้ก็มีอยู่หลายอย่าง กำหนดเอาตามจังหวะของกลองหรือโทน เรียกกันว่าจังหวะหน้าทับ จังหวะอย่างไทยๆ ก็เรียกว่าหน้าทับปรบไก่ จังหวะของต่างชาติก็มีหน้าทับเขมร, มอญ, พม่า, สดายง (แขกมลายู) ฯลฯ แต่จะเป็นจังหวะเทวดาฟ้าสวรรค์อะไรก็ตามที จุดประสงค์ของมันก็เพื่อสอดแทรกเสียงลงไปในทำนองเพลงเพื่อช่วยให้เพลงที่ จืดๆ มีชีวิตชีวาขึ้นบ้าง หาได้มีอิทธิพลบังคับให้ลีลาของเพลงแปลกออกไปจากเดิม ซึ่งต้องตีฉิ่งฉับ ๘ จังหวะไม่ จังหวะที่เราเด็กรุ่นนี้ต้องการก็คือจังหวะที่บังคับลีลาของเพลงให้เปลี่ยน ไป เช่นเดียวกับจังหวะของเพลงสากล เช่นในเพลง La Paloma, ของ Sebastian Yradier นักแต่งเพลงชาวสเปน, อันเป็นเพลงจำพวกเพลงเกี้ยวพาราสี (Serenade) มีชื่อของสเปนเพลงหนึ่งซึ่งไทยเรารู้จักกันดี ท่านที่สนใจเพลงสากลจะรู้สึกว่าเพลงนี้บรรเลงด้วยจังหวะวอลซ์, แทงโก, รุมบ้า หรืออื่นๆ จะมีลีลาคนละอย่าง ทั้งนี้ก็เพราะจังหวะของเขาบังคับลีลาของเพลง มิใช่เป็นเครื่องตอด หรือสอดแทรกทำนองเพลง อย่างกลองแขกหรือตะโพนของเรา!...

-
 ในการบรรเลงดนตรีไทยถือว่าเพลงบังคับจังหวะ เราจึงไม่ต้องมีคอนดัคเตอร์ หรือผู้อำนวยเพลงคอยให้สัญญาณ ส่วนดนตรีสากล จังหวะบังคับลีลาของเพลง เขาจึงต้องมีคอนดัคเตอร์คอยบอกจังหวะและลีลา...ก็จังหวะอย่างดนตรีสากลที่ทำ ให้ลีลาของเพลงมีความเด่นชัดนี่สิที่เราขาดหายไป เมื่อของๆ เขาดีกว่า ของๆ เราสู้ไม่ได้ มันก็เป็นกฎธรรมดาเหลือเกินที่ว่า...ถ้าของเราไม่สูญก็ต้องขวนขวายให้มัน พัฒนาไปตามอย่างเขา ทันเทียมเขา หรือดีกว่าเขา ก็แล้วเราจะพอใจเลือกเอาอย่างไหน





-
"ค่ำเช้าเฝ้าสีซอ เข้าแต่หอล่อกามา"
นั้นความจริงของมันมีอยู่แค่ไหน?


-
            ปัญหาเกี่ยวกับดนตรีไทยเดิมที่ได้วิพากษ์ไปแล้วตอนก่อนก็คือ จำนวนเสียงอันจำกัด จังหวะและกฎเกณฑ์ที่บีบรัดดนตรีไทย ก็ปัญหาเหล่านั้นหรือเงื่อนไขอันบีบรัดเหล่านั้นมันก่อให้เกิดผลอย่างไรขึ้น บ้างเล่าในวงการของดนตรีไทย? ผลที่เห็นได้ชัดก็คือการขาดความรู้สึก หรือการแสดงออกของอารมณ์ ข้อนี้เราก็ยอมรับกันทั่วไปโดยปริยายแล้วว่า เพลงไทยส่วนมากมักไม่มีการแสดงออกของอารมณ์ ไม่สอดใส่ความรู้สึกให้แก่ผู้ฟังเลย นอกจากฟังแล้วจะง่วงนอน, ชวนให้เกียจคร้านทอดอาลัย ปล่อยให้ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นไปเองตามยถากรรม เช่น เพลงแสนเสนาะ ๓ ชั้น, ล่องลมเถา, พม่าห้าท่อน ๖ ชิ้น, เจริญศรีอยุธยา, เทพบรรทม ๓ ชั้น เหล่านี้เป็นต้น

-
เพลงพวกนี้ศิลปินมิได้คำนึงที่จะสอดใส่ความรู้สึกใดๆ ลงไปทั้งสิ้น นอกจากจะจับเอาเสียงเพราะๆ มาเรียงๆ เข้าให้เป็นทำนองเท่านั้น ทำนองเดียวกับเพลงของโมซาร์ท (Wolfgang Amadeus Mozart) นักแต่งเพลงมือดีชาวออสเตรียในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๘ ซึ่งเพลงของศิลปินผู้นี้ได้ชื่อว่าคลังของเสียงเพราะพริ้งแต่อย่างเดียว โดยแท้ ซึ่งในกรณีนี้ก็มิใช่ว่าข้าพเจ้า "หูต่ำ" นักฟังเพลงคลาสสิคเก่งๆ หลายคนก็ออกปากอย่างเดียวกันว่าเพลงของโมซาร์ทไร้ความหมายใดๆ ทั้งนั้น นอกจากจะมีเสียงเพราะพริ้งรวมๆ กันเป็นกระจุกแต่อย่างเดียว ด้วยเหตุที่ไร้ซึ่งการสอดใส่ความรู้สึกให้แก่ผู้ฟังนี้แหละ ในการบรรยายประกอบเพลงไทยเดิมเราจึงมักจะได้ยินเสมอว่า "เพลงนี้ มีความหมายในทางทำให้สบายใจ และเกิดความรื่นรมย์" ซึ่งเป็นทางออกทางเดียวของผู้บรรยาย!
-
เงื่อนไขที่บังคับให้เพลงไทยมีลักษณะจืดๆ ชืดๆ ดังที่ได้วิพากษ์มาทั้งหมดนั้น ความจริงหาได้เป็นเงื่อนไขใหญ่ที่แท้จริงไม่ หากเป็นเพียงเงื่อนไขที่ผลิตออกมา หรือถูกบันดาลให้เป็นมาโดยอิทธิพลอันยิ่งใหญ่บางอย่างที่ครอบงำสังคมระบบเก่าอยู่เท่านั้น อิทธิพลเหล่านั้นอาจจะเห็นได้ชัดเจน ถ้าเราพิจารณาถึงประวัติความเป็นมาของดนตรีไทยตั้งแต่ดั้งเดิม
-
ดนตรีไทยที่เราเล่นกันอยู่ทุกวันนี้ เป็นที่รู้กันอยู่แล้วโดยทั่วไปว่าหายากที่จะเป็นของไทยแท้ โดยมากเราได้มาจากชาติอื่นแทบทั้งนั้น ซอด้วง ซออู้ ขิม ได้มาจากจีนเมื่อไม่นานมานี้เอง จะเข้ ฆ้องวง พิณพาทย์ เป็นของมอญ ซอสามสาย กระจับปี่ เป็นของชวา เราได้ผ่านมาทางเขมรโบราณ เฉพาะกระจับปี่นั้นเดิมทีเดียวเป็นของอินเดีย ซึ่งเขาเรียกว่ากจฺฉป แปลว่าเต่า เพราะรูปร่างเหมือนเต่า ทางตะวันออกรับเอามาเล่นพร้อมๆ กับพิณ เครื่องดนตรีอีกชนิดหนึ่งของอินเดีย
-
         เครื่องดนตรีของไทยเราเองแท้ๆ ก็คือพวกดนตรีชาวบ้านที่หลงอยู่ตามถิ่นต่างๆ เดี๋ยวนี้ เช่น แคน, จ้องหน่อง เหล่านี้เป็นต้น (ซึ่งเรียกกันว่า Folk music) พวกดนตรีชาวบ้านหรือ Folk music นี้แต่เดิมก็นิยมเล่นกันทั่วๆ ไป พวกในราชสำนักที่จัดว่าเป็น "สมมติเทวะ" ก็ยังนิยมเล่นกันอยู่ ยังมีพยานพอให้เห็นได้จากหนังสือเรียนโบราณที่ว่า :

 -
 

“ชาววังนั่งในห้อง
ชักจ้องหน่องดังโหน่งเหน่ง”
-

            แต่ภายหลังเมื่อเรารับเอาลัทธิ "เทวราช" (God-King) หรือ "กษัตริย์คือเทวดา" มาจากเขมร ดนตรีชาวบ้านจึงกลายเป็นของต่ำไปสำหรับราชสำนัก เมื่อสมัยรัชกาลที่ ๔ นี้ พระปิ่นเกล้าฯ กษัตริย์องค์รองของรัชกาลที่ ๔ ได้ฟื้นฟูดนตรีชาวบ้าน เป็นการใหญ่ มีการเล่นพวกแคน แอ่ว เพลงรำ องค์พระปิ่นเกล้าฯ เองทรงแคนได้อย่างไพเราะ แต่การฟื้นฟูครั้งนี้กลับไม่เป็นที่ต้องพระทัยของรัชกาลที่ ๔ โดยถือว่าเป็นดนตรีต่ำช้า ไม่แสดงถึงความยิ่งใหญ่และอำนาจของ "พระมหานคร" ถึงกับทรงออกประกาศห้ามเป็นทางการและก็ตามทำเนียม--ในประกาศก็ต้องอ้างว่า การเล่นดนตรีชาวบ้านทำให้ฝนฟ้าตกไม่ต้องตามฤดูกาล ไร่นาแห้งแล้งเสียหาย จะสอบดูได้จากหนังสือประชุมประกาศรัชกาลที่ ๔

 -
เมื่อดนตรีชาวบ้านกลายเป็นของต่ำช้า ไม่ควรคู่กับเทวราช ดนตรีชาวบ้านก็ถูกปล่อยละทิ้งให้เป็นไปตามยถากรรม ปราศจากการเหลียวแล และไม่แต่เท่านั้นประชาชนยังพลอยเลิกเอาใจใส่ หันมาพลอยเห่อนิยมดนตรีที่ราชสำนักหยิบยืมมาจากราชสำนักเขมร โดยถือว่าเป็นของสูง แสดงความเป็นผู้ดี แต่ในบางถิ่นที่อิทธิพลราชสำนักมิได้ใส่ใจจะแผ่สายใยออกไป ดนตรีชาวบ้านถิ่นนั้นก็คงเหลืออยู่ไม่ได้สาบสูญ
 -
ดนตรีของราชสำนักเขมรโบราณ นายเก่าของเรา ที่เรายังแสดงความซื่อสัตย์จงรักภักดีรับเข้ามาไว้ใช้เพื่อเป็นเครื่อง ประดับเกียรติบารมี ส่วนมากเป็นดนตรีเกี่ยวกับศาสนาและกษัตริย์ ดนตรีในเมืองเขมรโบราณล้วนแล้วแต่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของศาสนาและกษัตริย์ กล่าวคือถูกใช้สำหรับประดับและสร้างเสริมพระบารมีของเทวดาและ      เทวราชทั้งสิ้น ซึ่งคตินิยมอย่างนี้เขมรได้มาจากพวกชวาซึ่งรับมาจากอินเดียอีกทอดหนึ่ง สำเนียงและทำนองของเพลงศิลปินแห่งราชสำนักจะสอดใส่ความรู้สึกที่น่าเกรงขาม, ครั่นคร้าม ให้แก่ผู้ฟัง ซึ่งเป็นพวกข้าราชบริพาร และประชาชน ท่วงทำนองต้องสง่า มีอำนาจราชศักดิ์ ชวนให้กลัวเกรง และจงรักภักดี เช่นในการสมโภชในราชพิธีต่างๆ ที่เกี่ยวกับทางศาสนา ดนตรีที่ใช้ก็จะเป็นพวกกาพย์ขับไม้ ประกอบด้วยซอสามสายคันหนึ่ง คนขยับกรับมือคนหนึ่ง คนสวดโศลกภาษาครึคระสรรเสริญเทวดาและกษัตริย์อีกคนหนึ่ง ภายหลังเพิ่มกระจับปี่เข้าอีกอย่างหนึ่ง และเวลาสวดโศลกสรรเสริญก็จะต้องมีพราหมณ์นั่งไกวบัณเฑาะว์ดังบุ๊งๆ ตลอดเวลา เรียกว่าขับไม้บัณเฑาะว์ เดี๋ยวนี้ยังมีซากเพลง "ขับไม้บัณเฑาะว์" ตกทอดเหลือมาถึงเรา ซึ่งกรมศิลปากรได้ปรับปรุงใหม่บรรเลงด้วยดนตรีสากล และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้แต่งเนื้อปรับเข้าใหม่ใช้เป็นเพลง ของมหาวิทยาลัย เพลงนี้ให้ความรู้สึกดังกล่าวได้ดีเหลือเกิน
 -
ความรู้สึกในศิลปะที่เป็นในทางสง่าน่าเกรงขาม วางอำนาจ มีความลึกลับ ดังกล่าวนี้เป็นลักษณะที่เด่นชัดมากที่สุดของศิลปะแห่งราชสำนักเขมร ลองดูพวกปราสาทหินของเขมรโบราณ เช่น นครวัด, พิมาย พวกนี้ จะรู้สึกว่าทมึนทึน, ถมึงทึง, น่าสะพรึงกลัว แม้พระพุทธรูปของเขมรโบราณก็มีลักษณะอย่างเดียวกัน ทั้งนี้เพราะราชสำนักของเขมรโบราณเล็งเห็นความสำคัญในอิทธิพลของศิลปะจึงรวบ เอาอำนาจการบัญชาศิลปะไว้ในกำมือโดยผูกขาด และใช้เพื่อกล่อมเกลาและคุกคามจิตใจของประชาชนให้กลัวราบต่ออำนาจของราช สำนักตลอดไป จะเห็นได้จากเพลง "เขมรทรงพระดำเนิน" เพลงเขมรเก่าแก่ที่พระเจ้านโรดมนำเข้ามาแพร่ในเมืองไทยเมื่อราวรัชกาลที่ ๓ สำเนียงและลีลาของเพลงแสดงให้เห็นภาพของกษัตริย์เขมรผู้สง่า ดำเนินอย่างช้าๆ วางอำนาจ เป็นที่ขามเกรงแก่ข้าราชบริพาร เหลือบซ้ายแลขวาอย่างระมัดระวัง หรือเรียกง่ายๆ ว่าย่างสามขุม ซึ่งสอดใส่การแสดงออกซึ่งอำนาจราชศักดิ์ไว้อย่างเพียบพร้อมบริบูรณ์และ ชัดเจน
-
            นอกจากเพลงประเภทนี้ก็ยังมีเพลงประเภทที่ใช้กล่อมอารมณ์ต่างๆ ซึ่งระบาดออกไปตามบ้านพวกขุนน้ำขุนนางและพวกผู้ลากมากดี ซึ่งมีทำเนียมว่าจะต้องมีวงดนตรีสาวๆ สวยๆ และระบำรำฟ้อนอวบอัดกำดัดสวาทไว้ปรนเปรอบำเรอสุข เพลงพวกนี้ไม่จำเป็นต้องแสดงออกซึ่งอารมณ์อะไร นอกจากจะจัดระดับเสียงให้ไพเราะถูกต้องตามกฎเกณฑ์ บรรเลงไปเรื่อยๆ ให้ฟังเย็นๆ เข้าไว้ ใช้เป็นเพียงเครื่องประกอบการรำฟ้อนอ้อนแอ้นทอดแขนแอ่นอกของพวกเด็กสาวนับสิบนับร้อยเท่านั้น พูดอย่างง่ายๆ ก็คือเข้าทำนองที่ว่าไว้ในกาพย์เรื่องพระไชยสุริยาว่า "ค่ำเช้าเฝ้าสีซอ เข้าแต่หอล่อกามา"!
-
            เพลงประเภทที่ว่านี้มีมากมายเหลือจะคณานับ ด้วยเหตุนี้เหละที่ทำให้เพลงไทยปราศจากความรู้สึก ปราศจากการแสดงออกของอารมณ์ในอันที่จะให้ความบันเทิงและสาระแก่ประชาชน นอกจากจะมีแต่ความซึมเซา เกียจคร้าน ทอดอาลัย และผลก็ตามมาคือหมกมุ่นอยู่แต่กามารมณ์ตามทำเนียมในสำนักผู้ดีทั้งหลาย ซึ่งลักษณะนี้เป็นลักษณะอันเป็นที่ต้องการอย่างยิ่ง เพราะทำให้ง่ายดายในการปกครอง เนื่องด้วยผู้ถูกปกครองถูกกล่อมให้เพ้อละเมอหลับใหลไปเสียแล้วอย่างไม่มีวัน ตื่น และก็บ่อยครั้งที่ฝ่ายปกครองก็พลอยหลงใหลตกหลุมหลับไปเองด้วยเหมือนกัน ดังจะเห็นตัวอย่างได้จากพงศาวดารจีน ซึ่งราชสำนักตลอดจนบ้านขุนนางจะเต็มไปด้วย สุรา นารี ดนตรี สำหรับปรุงเปรอบำเรอกาม! และในที่สุดสิ่งเหล่านี้นั่นเองที่กลับทรยศกลายเป็นเครื่องทลายโค่นราชวงศ์ ต่างๆ ลงเสียนับไม่ถ้วนในประวัติศาสตร์

 -
พิพิธภัณฑ์ของดนตรีไทย
ใครเป็นผู้สร้างมันขึ้น?

            ศิลปการดนตรีไทยเดิม เท่าที่ข้าพเจ้าได้วิพากษ์วิจารณ์ปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับความบกพร่องล้าหลังซึ่งจะนำไปสู่ความสาบสูญในอนาคตอันใกล้นั้น ปัญหาได้คลี่คลายมาจนถึงอิทธิพลสำคัญที่ครอบงำการพัฒนาของดนตรีไทยอยู่ตลอด ระยะเวลาอันยาวนาน นับแต่สมัยต้นกรุงศรีอยุธยาจนถึงปัจจุบัน อิทธิพลที่กล่าวไว้ในตอนก่อนก็คือ อิทธิพลของศาสนาและราชสำนัก ซึ่งเรารับทอดมาจากเมืองเขมรแต่โบราณผสมกับชวา ในตอนนี้จะได้กล่าวถึงอิทธิพลใหญ่ชั้นนำอีกประการหนึ่งต่อไป

 -
อิทธิพลใหญ่อีกฝ่ายหนึ่ง นอกจากที่กล่าวมาแล้ว อันมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาของดนตรีไทย ก็คืออิทธิพลของสำนักผู้ดี ผู้ดีไทยสมัยก่อนทุกสำนักจะต้องมีดนตรีไว้ประดับเกียรติบารมีและบำรุงบำเรอ นอกจากนี้ยังมีระบำรำฟ้อนเป็นฮาเร็มใหญ่ มีทั้งหุ่น, โขน, ละครเสภา แล้วแต่สำนักไหนจะนิยมชมชอบประเภทใด
ดูเผินๆ ก็น่าจะเป็นการดีอยู่ ที่ดนตรีได้รับการสนับสนุนจากสำนักต่างๆ เพราะศิลปินจะได้รับการอุ้มชูไม่ต้องพะวักพะวนกับเรื่องท้อง มีเวลาพอที่จะทุ่มเทกับศิลปะอย่างเต็มที่ แต่การณ์หาเป็นไปเช่นนั้นไม่ หน้าที่ของศิลปินแต่ละสำนักต้องถูกผูกขาดให้เป็นไปตามความต้องการแห่งเจ้า ของสำนัก โดยใช้บรรเลงเพื่อกล่อมการนอนบ้าง บรรเลงเพื่อให้มีจังหวะจะโคนประกอบการรำฟ้อนของสาวรุ่นๆ ในสำนักบ้าง ศิลปะการดนตรีจึงมิได้ดำเนินไปอย่างอิสระ
 -
การที่กำหนดให้หน้าที่ของศิลปินทางดนตรีเกี่ยวข้องกับการฟ้อนรำ หรือโขนละครเป็นสำคัญนี้ ทำให้เกิดลักษณะพิสดารอีกอย่างหนึ่งขึ้นในขบวนการของดนตรีไทย กล่าวคือ เพลงไทยส่วนมากเป็นของแต่งขึ้นภายหลัง เพื่อให้เข้ากับท่ารำ ซึ่งประดิดประดอยขึ้นก่อน ทำนองและลีลาของเพลงไทยต้องเดินตามหลังท่ารำตลอดมา เมื่อท่ารำยังคงเป็นไปในลักษณะเดิมจำเจ เพลงไทยเดิมก็คงติดอยู่ในกรอบนั้น ไม่มีโอกาสที่จะดิ้นรนให้หลุดออกมาได้ เพลงไทยเดิมส่วนมากเป็นเพลงในจำพวกที่กล่าวนี้ทั้งนั้น ความสำคัญในการสอดแทรกความรู้สึกหรืออารมณ์หรือความงามของธรรมชาติในเพลงจึงแทบจะไม่มีการสนใจกันเลย สักแต่ว่าให้มีเสียงเพราะๆ มีจังหวะเนิบนาบหรือถี่ยิบเป็นใช้ได้ ทั้งนี้เป็นเพราะจุดเด่นทั้งหมดไปรวมอยู่ที่ว่า เด็กสาวแรกรุ่นงามเหมือนดอกไม้แรกแย้มที่รำระร่อหน้าอยู่เป็นหมู่นั้น "เอวบางร่างรัดกำดัดสวาท ผุดผาดสารพัดครัดเคร่ง" หรือเปล่า ท่ารำของเธอเล่าทอดกรอ่อนองค์ละมุนละไมน่าชมเชยหรือไม่ ถ้าหากดีพร้อมเป็นที่ชอบใจ ถึงอกถึงใจพระเดชพระคุณ เจ้าของสำนักที่นั่งลงพุงเอ้เตอยู่บนเตียง หรือไม่ก็ผอมเหลือง "พระองค์กลมกล้องแกล้ง" ก็จะตรงเข้าอุ้มเข้า "ข้างใน" หรือ "ปรางมุขพิมานสโมสร" ไปเลย ที่ข้าพเจ้าเล่ามานี้ไม่ใช่ยกเมฆ หากเป็นความจริงที่ยืนยันได้
-
            ฝ่ายข้างพวกเด็กสาวๆ เหล่านั้น ต่างก็ได้รับการอบรมมาแต่อ้อนแต่ออกจนยอมรับว่าเป็นสภาพธรรมดาและหน้าที่ของหญิงสาวไปเสียแล้ว ว่าต้องทำหน้าที่บำเรอเปรอปรนในสำนักต่างๆ ด้วยลักษณะอย่างนี้ ต่างคนจึงต่างยิ่งพยายามทำตนให้เด่นที่สุด เป็นต้นว่าตะโพกต้องพะเยิบพะยาบส่ายไปมาเหมือนนางช้าง ขอให้ลองไปดูช้างที่เขาดินบ้างเป็นไร ว่ามันเดินผิดกับมาริลีน มอนโร บ้างสักนิดหนึ่งไหม?

 -
ในเมื่อท่ามกลางสำนักอบอวลไปด้วยลักษณะดังกล่าว ดนตรีจึงต้องเป็นรองตามธรรมดา คือต้องคอยตามท่ารำเรื่อยไป ผิดกับทางยุโรป ท่ารำของเขาเกิดขึ้นภายหลังเพลงเสมอ กล่าวคือ ผู้เต้นหรือรำมีหน้าที่แอ๊คให้เข้ากับเพลง ไม่ใช่เพลงต้องคอยแต่งใหม่ให้มีลีลาเข้ากับท่าทาง ที่กล่าวนี้ไม่ใช่ข้าพเจ้านึกเอาเอง หากเป็นผลการค้นคว้าเพลงไทยของฝรั่งผู้หนึ่งซึ่งเข้ามาศึกษาเมื่อเร็วๆ นี้
 -
เมื่อการแสดงออกในด้านอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดของดนตรี ถูกบังคับแจไปเสียหมดดังนี้ ศิลปินจึงเร่ไปหาทางออกให้แก่ความอึดอัดของตนในทางอื่น คือทางพลิกแพลงโอ้อวดฝีมือ ซึ่งเป็นทางเดียวที่จะกู้ความสำคัญและเรียกหาจุดเด่นกลับคืนมาได้ วิธีการก็คือเล่นให้เร็วปรี๊ด ยิ่งเร็วจนฟังไม่ทันได้ยิ่งนับว่าดี, ชำนาญมากฝีมือคล่อง จนเป็นที่รับทราบกันทั่วไปว่า "ดนตรีไทยนั้นเร็วไม่มีที่สุด" คนตีฉิ่งไม่คล่องจริงหรือไม่เก่งจริงแล้วอย่าหวังเลยว่าจะตีให้จังหวะได้ทัน [อย่าลืมว่าดนตรีไทยถือว่าจังหวะตามหลัง]
 -
พร้อมๆ กับความเร็ว สิ่งที่ตามมาก็คือการพลิกแพลง นักดนตรีฝีมือดีจริงจะต้องบรรเลงพลิกแพลงยอกย้อนวกวนให้มากที่สุด จนผู้ฟังซึ่งถ้าไม่เก่งจริง หรือ "หูต่ำ" แล้ว จะจับไม่ได้เลยว่าบรรเลงเพลงอะไรแน่ เมื่อเล่นจบแล้วก็นั่งอมยิ้มชำเลืองไปชำเลืองมา ทิ้งเป็นปริศนาไว้ให้ผู้ฟังขบว่าเพลงที่บรรเลงจบไปแล้วเมื่อกี้เป็นเพลงอะไร ถ้าไม่มีใครฟังออกเลยก็ชอบใจ ถือว่าตนเป็นผู้มีภูมิปัญญาดี ยกตนขึ้นเหนือคนอื่นไปเลย นี่เป็นลักษณะสำคัญที่มีประจำนักดนตรีไทยทั่วไปจนพูดได้ว่าแทบทุกคน และเป็นทำเนียมทีเดียวว่าการบรรเลงเพลงไทยจะต้องไม่บอกเป็นอันขาดว่าจะบรรเลงเพลงอะไร นั่งอกแอ่นเล่นเพลงนี้ออกเพลงโน้นเรื่อยไป ไม่ต้องพะวงถึงใครในโลกนี้ทั้งนั้น ทำเนียมอันนี้ยังมีอยู่ทั่วไปจนกระทั่งทุกวันนี้ การบรรเลงเพลงไทยที่จะบอกชื่อเพลงนั้นเพิ่งจะมีขึ้นบ้างก็แต่ในบางโอกาส เช่นในการส่งกระจายเสียง และก็นานๆ จะมีการบรรยายประกอบเพลงสักครั้ง ถ้าหากวงดนตรีที่จ้างไปแสดงตามงามต่างๆ แล้ว เป็นวางปุ่มให้เขื่องตลอดเวลา ไม่มีการปริปากเลยทีเดียว
-
ด้วยทำเนียมนิยมในการโอ้อวดฝีมือนี้เอง ทำให้นักดนตรีแต่ละคนต่างก็ประดิดประดอยเพลงต่างๆ ขึ้น เล่นเป็นของตนโดยเฉพาะ ประกวดประขันกันว่าทางของใครจะเพราะกว่า ยอกย้อนกว่า วกวนกว่า เช่นเพลงแขกมอญจะมีหลายสิบทาง บางทีถ้าไม่เคยรู้จักทางที่กำลังบรรเลงนี้มาก่อน ก็จะไม่รู้เลยว่าเป็นเพลงแขกมอญ เพลงที่มากทางที่สุดก็คือพม่าห้าท่อน วงไหนวงนั้น เล่นไม่เหมือนและไม่ใกล้เคียงกันเลยสักวงเดียว
-
การแข่งขันและประหัตประหารในทางดนตรีของไทยโบราณนี้ ทำไปทำมาก็ดำเนินรอยเดียวกันกับวรรณคดี ในประวัติความเป็นมาของวรรณคดีไทย เราจะเห็นว่าแทนที่กวีจะใช้เวลาและความสามารถให้หมดไปในทางสร้างสรรค์ หรือนำแนวคิดของประชาชนผู้อ่านให้ตื่นขึ้นจากปลักของความงมงายในอวิชชา กวีกลับมัวตั้งหน้าตั้งตาสร้างวรรณคดีไทยเลียนแบบวรรณคดีเก่า เริ่มต้นแต่ศรีปราชญ์หรือใครก็ไม่ทราบคนหนึ่งแต่งกำสรวลคร่ำครวญจากลูกจากเมีย รำพันจะฝากเมียไว้กับพระอินทร์ พระพรหม พระยม พระกาล อะไรเรื่อยเปื่อยไปตามประสากวีฟุ้งเฟ้อ กวีคนหลังๆ ต่างพยายามแต่งเลียนแบบและข่มกำสรวลลงให้ได้ ชิงดีชิงเด่นกันอยู่ตรงฝากเมียนี่เอง เป็นต้นว่านายนรินทร์, พระยาตรัง, กรมหลวงภูวเนตรนรินทรฤทธิ์, หลวงธรรมาภิมณฑ์, รัชกาลที่ ๕ และรัชกาลที่ ๖ คนไหนคนนั้นเป็นคร่ำครวญฝากเมียกับเทวดาแข่งขันกันทั้งนั้น
-
ในทางดนตรีก็มีบ่อยๆ นอกจากจะดัดแปลงเพลงเดียวออกเป็นหลายทางแข่งขันกันแล้ว ยังแต่งเพลงใหม่ข่มกันเสียอีกด้วย เช่นเดิมมีเพลงโหมโรงอยู่เพลงหนึ่งชื่อเยี่ยมวิมาน นัยว่าเพราะพริ้งดี (ตามหูนักดนตรีเก่า) แต่พอไม่นานนักก็มีนักเลงดีแต่งเพลงขยะแขยง ขึ้นแข่ง ขึ้นต้นลงท้ายเหมือนกันเดียะ นัยว่าจะข่มเยี่ยมวิมานลงให้ได้ เพลงนี้ภายหลังเรียกว่าจีนโล้ แต่ถึงจะเยี่ยมอย่างไรก็ไม่ค่อยได้ยินบ่อยนัก เพราะฟังแล้วก็คงเรื่อยๆ ตามเคย เหมือนอ่านหนังสือสมุทรโฆษ แล้วอ่านอนิรุทธ์คำฉันท์ เนื้อเรื่องก็เหมือนกัน ถ้อยคำก็แบบเดียวกัน อะไรๆ ก็เหมือนกัน ไม่มีอะไรใหม่เลย เมื่อต่างคนต่างพะวงแต่จะฟาดฟันกันอยู่ด้วยเรื่องเดียวกันอย่างนี้นับเป็น ศตวรรษๆ ความเจริญก้าวหน้าของศิลปะมันจะเกิดขึ้นได้อย่างไร นอกจากจะยุ่งยากโด่งออกไปตามลำพังและอำเภอใจของศิลปินเท่านั้น
-
นอกจากจะมีลักษณะดังนั้นแล้ว นักดนตรีชั้นครูก็จะพยายามยึดเพลงที่ง่ายๆ อยู่แล้ว ให้ซับซ้อนยืดยาวออกไป เป็นเท่าๆ ตัว ทั้งนี้เพื่อแข่งขันกันในการสอดแทรกลูกล้อลูกขัดที่แพรวพราวไปทั้งเพลง เช่นเพลงพม่าห้าท่อน เดิมมีเพียงสองชั้น ครูดนตรีสำนักต่างๆ ยืดออกเป็นสามชั้น เท่านี้ยังพอทำเนา ยังพอจะฟังได้บ้าง ไม่ยอกย้อนถึงขนาดหนัก แต่ก็ยังไม่เพียงพอ ต้องยืดขึ้นไปจนถึงหกชั้น ฟังแล้วไม่รู้เรื่องเลย เคยลองถามพวกครูดนตรีไทยฝีมือดีๆ บางคนดู เขาก็ส่ายหน้ากันเองเหมือนกันว่ามันชักจะเลอะไปใหญ่ ก็แล้วขนาดเด็กรุ่นใหม่อย่างพวกรุ่นข้าพเจ้าผ่านหน้าฝนมาได้ราวสองทศวรรษเศษ อย่างนี้จะฟังไหวละหรือ? ที่ยกตัวอย่างเพลงพม่าห้าท่อนนั้น ที่จริงอาจจะไม่ค่อยมีเด็กๆ รู้จักนักก็ได้ จะขอยกอีกสักเพลงหนึ่งที่ได้ยินบ่อยๆ คือ เขมรไทรโยค เพลงนี้ที่เราได้ฟังอยู่ทุกๆ วัน เป็นเพลงขนาดพอเหมาะ คือเพลงสามชั้น พอฟังได้บ้างละว่าเพราะพริ้งดี เพลงนี้ก็ถูกนักดนตรีรุ่นหลังยืดออกเป็นหกชั้นอีกเหมือนกัน ยืดยาด วกวน จนบอกไม่ถูก แม้พวกนักดนตรีเองก็ไม่เห็นมีใครทนเล่นได้กี่คน เพลงขนาดนี้รู้สึกว่าจะแต่งขึ้นมาเพื่อเก็บไว้ดูเล่นในพิพิธภัณฑ์มากกว่าจะ จงใจให้มันมีชีวิตอยู่ เพราะบรรเลงครั้งสองครั้งแล้วเงียบหายไปเลย เรียกว่าขณะที่นักดนตรีแต่งมันขึ้นมานั้น ได้ขุดหลุมฝังศพของมันเตรียมไว้ให้ด้วยพร้อมเสร็จทีเดียว พอแต่งเสร็จก็เอาลงหลุมฝังกลบดินติดป้ายแขวนไว้ได้ทันทีว่า หลุมนี้ "เขมรไทรโยคหกชั้น" อะไรเหล่านี้เป็นต้น


“และก็เมื่อเป็นดังนี้แล้วจะขืนอย่างไรไหวเล่าที่จะไม่ให้มันสาบสูญ!
ดนตรีไทยเดิมนั้นเรามิได้ละทิ้ง ชนหยิบมือหนึ่งขโมยไปต่างหาก”

ปัญหาเกี่ยวกับดนตรีไทยเท่าที่ได้ตีพิมพ์มาแล้ว ท่านผู้ที่สนใจและติดตามอ่านคงจำได้ว่าข้าพเจ้าได้วิพากษ์มาแล้วหลายหน แต่กระนั้นก็ยังไม่มีท่าว่าจะจบลงได้ง่ายๆ ยังมีปัญหาที่เราจะต้องวิพากษ์กันต่อไปอีกมากมาย และยิ่งวิพากษ์ก็ดูเหมือนปัญหาของมันจะมากขึ้นเป็นทวีคูณ

-
ในตอนที่แล้วข้าพเจ้าได้กล่าวถึงผลเสียอันเกิดขึ้นในสำนักผู้ดีต่างๆ ซึ่งทำให้เพลงนับวันก็ยิ่งยุ่งยากซับซ้อนขึ้น ในตอนนี้จะได้กล่าวถึงผลเสียอันสำคัญที่เกิดขึ้นอีกตอนหนึ่ง
-
ผลเสียอย่างสำคัญที่เกิดขึ้นในสำนักผู้ดี ที่ปรากฏชัดเหลือเกินก็คือการประหัตประหารกันเองระหว่างนักดนตรี สำนักของผู้ดีสมัยนั้นมีสภาพเช่นเดียวกับชาล็อง (Salon) ของพวกขุนนางฝรั่งเศสสมัยโบราณ คือเป็นที่รวบรวมสะสมตัวศิลปินผู้สามารถต่างๆ และภายในชาล็องก็จะมีการประกวดประขันความสามารถของกันและกัน ผิดกันอยู่ที่ฝรั่งเศสเขาประกวดประขันกันในด้านความคิด ความรู้สึกรับผิดชอบที่มีต่อชุมชน และแม้จะแข่งขันกันในชาล็องก็มักเป็นไปด้วยความสนับสนุนกันและกัน และเพื่อการสร้างสรรค์ ส่วนของเราแข่งขันประหัตประหารกันในทางฝีมืออย่างเดียว ความนึกคิดหรือความรู้สึกอะไรไม่คำนึงถึง
-
ที่เกิดประหัตประหารกันขึ้น ก็เพราะต่างคนต่างก็ต้องการ "ความโปรดปราน" หรือต้องการเป็น "คนโปรด" พวกนักดนตรีจึงมีเลศนัย และชั้นเชิงต่อกันอย่างเปิดเผย แต่ละคนจะพยายามปกปิดความรู้ ไม่ยอมถ่ายทอด เพราะกลัวผู้อื่นจะกลายเป็น "คนโปรด" แทนตนไปเสีย หรือมีหน้ามีตากว่า ต่างฝ่ายต่างก็หมกเม็ดอุบเอาไว้ ไม่ยอมขยาย "กลเด็ดเม็ดพราย" จะถ่ายทอดความรู้ให้ก็เฉพาะคนที่เชื่อได้ว่าไม่ "นอกครู" หัวอ่อน, กลัวเกรง และกว่าจะต่อเพลงให้สักเพลงหนึ่งก็ต้องทดลองแล้วทดลองอีก ผู้ฝากตัวเป็นศิษย์จะต้องไปรับใช้อยู่ที่บ้าน ปรนนิบัติวัตถากไปนมนาน เมื่อกำราบเสียอยู่หมัดดีแล้ว จึงจะยอมขยายเพลงให้ แต่ก็อีกนั่นแหละ เพลงที่ขยายให้มักเป็นทางเรียบๆ ฟังชืดๆ ไม่เพราะพริ้งอะไรเลย ทั้งนี้ก็เพราะถือคติว่าครูต้องดีกว่าศิษย์เสมอ ศิษย์จะเท่าเทียมครูไม่ได้เป็นอันขาด! และก็ด้วยการที่ตนเคยประหัตประหารคนอื่นมาเสมอๆ จึงเสียวๆ อยู่ว่าศิษย์จะดีเกินหน้าเป็นการประหัตประหารตนเองในที ทางของเพลงที่ต่อให้จึงเป็นทางชืดๆ ถ้าศิษย์ต่อว่าก็มักจะบอกว่า "ไปดัดแปลงเอาเองสิ" แต่พอศิษย์ดัดแปลงเข้าจริงๆ ก็มักโกรธขึ้ง ไม่พอใจ หาว่านอกครู และก็พานประมาทว่า "ทางของแกมันตลกสิ้นดี ใช้ไม่ได้" เลยยิ่งทำให้ศิษย์ยิ่งคิดสู้ครูหนักขึ้น ตามกฎวิทยาศาสตร์ที่ว่า แรงดันย่อมมีมากเท่ากับแรงกด ที่ว่ามานี้เป็นความจริงและยังจริงอยู่จนเดี๋ยวนี้
-
ผู้ที่จะถ่ายทอดเอาเพลงไปได้ง่ายกว่าผู้อื่นก็มักจะได้แก่พวกลูกหลานของขุน น้ำขุนนางเจ้าของสำนักผู้ดีทั้งหลายที่นักดนตรีเป็นข้าเก่าเต่าเลี้ยงอยู่ เพราะต่างคนต่างก็หวังจะประจบเอาหน้าเอาตา จนกลายเป็นทำเนียมหวงวิชาไว้เฉพาะในหมู่ชนกลุ่มน้อยกลุ่มเดียวที่เรียกว่า ผู้ดี เมื่อครั้งสุนทรภู่แต่งเรื่องพระอภัยมณี การหวงแหนวิชาดนตรีดังกล่าวเป็นของที่ปรากฏเด่นชัด จนแม้สุนทรภู่ผู้ดื่มด่ำในคุณข้าวแดงแกงร้อนของสำนักต่างๆ ก็เผลอตัวสะท้อนภาพอันน่าบัดสีนี้ไว้อย่างชัดเจน และอย่างเถียงไม่ได้เลย กล่าวคือในตอนที่พระอภัยมณีไปเรียนวิชาปี่กับอาจารย์ในป่าที่ไหนแห่งหนึ่งก็ ไม่ทราบ ตาครูปี่เรียกค่าวิชาถึงแสนตำลึงทอง พระอภัยถอดแหวนเพชรให้เป็นค่าวิชา แต่พอเรียนเสร็จตาครูก็ทำใจป้ำคืนแหวนให้ และสำทับว่า


"ซึ่งดนตรีตีค่าไว้ถึงแสน  เพราะหวงแหนกำชับไว้ขับขัน
ใช่ประสงค์ตรงทรัพย์สิ่งสุวรรณ จะป้องกันมิให้ไพร่ได้วิชา!
ต่อกษัตริย์เศรษฐีที่มีทรัพย์ มาคำนับจึงได้สมปรารถนา"

            เมื่อสภาพการณ์เป็นดังนี้ ดนตรีของเราจึงแพร่อยู่ในชนกลุ่มน้อยนักกลุ่มเดียวอย่างจริงจัง และก็แคบเข้าทุกวัน ยิ่งครูดนตรียิ่งหลงเพลงก็ยิ่งสูญมากขึ้น คนหนึ่งๆ ตายไปพร้อมกับเพลงที่หวงแหนหลายสิบเพลง ซึ่งที่จริงก็ไม่น่าเสียดายอะไรนัก เพราะถึงจะไม่สูญไปก็คงจะอยู่ต่อมาอย่างร่อแร่แบบเดียวกับเพลงเดี๋ยวนี้ เพราะเพลงเหล่านั้นไม่ใช่เพลงของประชาชนชาวบ้านเลยจริงๆ

-
ลักษณะที่จะสังเกตได้อีกอย่างหนึ่งของเพลงไทย ก็คือ ถ้าเพลงนั้นเป็นเพลงใหม่แต่งขึ้นเองและถือเป็นไม้เด็ดสำหรับโค่นสถาบันของ นักดนตรีคู่แข่งแล้ว เพลงนั้นจะบรรเลงเร็วปรี๊ดฟังไม่ทัน ทั้งนี้ก็เพราะกลัวจะมีนักเลงดีจำได้ และเอาไปเล่น จะเลยกลายเป็นของธรรมดา ไม่วิเศษไปเสีย แต่กระนั้นก็ยังมีนักเลงดีที่ดีจริง ขโมยฟังเที่ยวเดียวจำได้อยู่นั่นเอง ทั้งๆ ที่เร็วปรื๋อหายใจหายคอไม่ทัน ยอกย้อนสับสน หรือวกวนอย่างน่าเวียนหัว! เมื่อเป็นดังนี้ต่างฝ่ายต่างก็ยิ่งระวังแจ แม้จะลองซ้อมมือก็จะต้องออกไปซ้อมกลางทุ่ง หรือในที่มิดชิด ถ้าเป็นซอก็เอาผ้าอุดเสีย ให้ดังอู้อี้อ้อแอ้ได้ยินแต่คนเดียว ถ้าเป็นปี่อย่างพระอภัยก็ยัดลงไปในตุ่มเล็ก ก้มหน้าเป่าเอาบ่าบังปากตุ่มไว้ไม่ให้เสียงสะท้อนออกข้างนอก ทรมาทรกรรมเต็มประดา ซึ่งผิดกับการกระหายที่จะขยายภูมิรู้ หรือโชว์เพลงของพวกฝรั่งอย่างตรงข้าม
-
คราวนี้เมื่อถึงเวลาบรรเลงเป็นวง ก็ต้องแข่งขันประชันกัน เพลงของใครจะมีทางแปลกกว่ากัน ลูกล้อลูกขัดของใครจะแพรวพราวกว่า และเพลงของวงไหนจะยากยิ่งกว่ากัน ยิ่งเล่นดึกเข้าก็ยิ่งยากเข้าทุกที ใครขืนเล่นเพลงง่ายๆ อย่างลาวดวงเดือน แขกสาหร่าย พวกนี้แต่อย่างเดียว เป็นขายหน้า ถูกหาว่า "ภูมิต่ำ" ต้องขุดเอาเพลงยากๆ ออกมาแข่งกัน ผลัดกันเล่นผลัดกันฟัง โดยไม่มีใครสนใจฟังกี่คนเลยนอกจากนักดนตรีเอง
-
ในปัจจุบันนี้สำนักครูดนตรีไทยเดิมใหญ่ๆ ในบริเวณกรุงเทพฯ ค่อยร่วงโรยร่อยหรอลงไปทุกที ที่ยังมีอิทธิพลมากอยู่ทุกวันนี้ก็คือ สำนักจางวางทั่ว พาทยโกศล อยู่ฝั่งธนบุรี มักเรียกกันว่า "ฝั่งโน้น" อีกสำนักหนึ่งคือจางวางศร ศิลปบรรเลง อยู่ฝั่งพระนคร มักเรียกกันว่า "ฝั่งนี้" เพลงของทั้งสองฝั่งไม่เหมือนกันเลย เล่นไปคนละทาง แม้บทร้องฝั่งหนึ่งใช้บทในอิเหนา อีกฝั่งหนึ่งก็เร่ใช้บทในขุนช้างขุนแผน เวลานักดนตรีจะเผอิญมาร่วมวงกัน ก็ต้องถามกันก่อนว่าเล่นเพลงฝั่งไหน ถ้าเป็นคนละฝั่งก็เล่นกันไม่ได้ ขืนเล่นก็ตีกันยุ่งไปหมดไม่เป็นโล้เป็นพาย ไม่ใครก็ใครต้องล้มไปข้างหนึ่ง แม้บัดนี้ครูใหญ่ทั้งสองสำนักจะสิ้นชีพไปแล้วก็ตาม แต่อิทธิพลทางดนตรียังคงกระชับตัวอยู่ และรู้สึกว่ายังจะไม่เลือนหายไปง่ายๆ นัก
-
            นอกจากนั้นถ้าหากบังเอิญมีวงดนตรีไปบรรเลงที่ไหนสักแห่งหนึ่ง นักดนตรีชาวบ้านนึกสนุกอยากจะขอเล่นร่วมวงด้วย หัวหน้าวงจะยินดีอย่างยิ่ง เพราะจะได้ใช้นักดนตรีบ้านนอกคนนี้แหละเป็นเครื่องพิสูจน์ให้เห็นฤทธิ์เดช ของฉัน พอเริ่มบรรเลง หัวหน้าวง...ปรกติคือซอด้วง (ถ้าเป็นเครื่องสาย) หรือระนาดเอก จะคอยล่อหลอก เล่นลัดเลี้ยวไปตามทางที่ตนซักซ้อมกันไว้โดยเฉพาะของพวกตน ถ้าผู้เข้าร่วมเล่นต้องตามเรื่อยไปก็ดูถูกเอาว่าไม่มีภูมิ แต่เท่านี้ยังไม่พอใจจะต้องลัดเพลงนี้ออกเพลงโน้นไปอีกอย่างฟุ่มเฟือย เพลงโดยมากคล้ายๆ กันอยู่แล้วจึงตัดต่อกันอย่างไรก็ทำได้ทุกขณะ และเพลงที่ออกต่อท้ายไปเรื่อยๆ นี้ ก็มักจะงัดเพลงยากๆ ขึ้นมาเล่น เช่นเพลงแนของมอญ ซึ่งเพลงนี้ถ้าเล่นไม่ได้แล้วก็ต้องวางมือ จะตามไปแบบเพลงอื่นนั้นทำไม่ได้ เพราะยอกย้อนขนาดหนัก พอผู้ร่วมวงด้วยวางซอ ตามต่อไปไม่ได้ ก็จะถูกโห่เอากลางวงเป็นที่สนุกสนานครื้นเครงยิ่งนัก ผิดกับนักดนตรีฝรั่ง ซึ่งเขาจะช่วยประคองคนแปลกหน้าที่เข้าร่วมด้วยให้เล่นไปด้วยกันได้
-
ด้วยอิทธิพลต่างๆ ที่กล่าวมา และนักดนตรีไทยถือตนว่าเป็นผู้มีภูมิปัญญาเหนือสามัญชน พะวงแต่ความโอ้อวดฝีไม้ลายมือมากเกินไปดังกล่าวนี้เอง เพลงไทยจึงยุ่งยากขึ้นทุกขณะ ละเลยผู้ฟังเสียสนิท ทั้งผู้เล่นก็มักจะเป็นคนในสำนักชั้นสูงต่างๆ ช่องว่างระหว่างศิลปะของดนตรีไทยกับประชาชนก็เกิดกว้างขึ้นทุกที จนในที่สุดก็กลายเป็นศิลปะที่ฟังกันได้อยู่แต่ในชนกลุ่มเดียว พวกประชาชนทั่วไปนับล้านๆ ที่ฟังไม่ออกก็กลายเป็นพวกหูต่ำ เป็นพวกละทิ้งสมบัติของชาติ แต่ทว่าคำกล่าวหานั้นจริงละหรือ? เรามิได้ละทิ้งสมบัติของเราเลย หากมีชนกลุ่มหนึ่งบังอาจมาขโมยสมบัติของเราไปเสีย และกระทำแก่มันตามพลการเพื่อประโยชน์ของเขาเพียงหยิบมือนั้น และทั้งยังกีดกันมิให้เราเข้าไปแตะต้องถึง อย่างนี้มิใช่หรือ?

ขอกราบขอบพระคุณอย่างสุดซึ้ง อ้างอิงจาก: http://www.siammusica.com